DSpace Repository

นิติภิวัฒน์กับความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและกฎหมาย: กรอบการทำความเข้าใจการขยายตัวของกฎหมายด้วยมุมมองทางรัฐศาสตร์

Show simple item record

dc.contributor.author วีระ หวังสัจจะโชค
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:22Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:22Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3360
dc.description.abstract นิติภิวัฒน์ คือ กรอบการศึกษาการขยายตัวของกฎระเบียบต่าง ๆ เพื่อเข้าไปจัดการปัญหารูปแบบใหม่ของสังคมที่เกิดขึ้น โดยหลักนิติภิวัฒน์เป็น กรอบการศึกษาแบบสหวิทยาการและบูรณาการเพื่อเชื่อมโยง “การเมืองกับ กฎหมาย” ให้เข้ามาเชื่อมโยงกัน บทความนี้จะอธิบายถึงนิยามและการทำงาน ของนิติภิวัฒน์ที่เข้าไปสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและกฎหมาย ในฐานะที่กฎหมายเป็นผลผลิตของการเมืองและเป็นราคาของการต่อสู้ทาง การเมืองของกลุ่มต่าง ๆ ด้วยเหตุนี้การขยายตัวของกฎหมายจึงมีการเมือง อย่างมาก ทั้งในด้านการจัดการปัญหาสังคมและการเพิ่มอำนาจให้กับรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ จนนำมาสู่การถกเถียงของ ฝ่ายที่สนับสนุนนิติภิวัฒน์ ที่ให้รัฐมีกฎหมายแทรกแซงจัดการปัญหาสังคม และฝ่ายต่อต้านนิติภิวัฒน์ที่เคลื่อนไหวเพื่อลดการแทรกแซงและการเพิ่ม อำนาจของรัฐ ทั้งนี้ ในบทความจะมีกรณีตัวอย่างโดยสังเขปในเรื่องของความ เป็นพลเมือง สวัสดิการสังคม และประชาธิปไตย เพื่อทำให้เห็นภาพของ นิติภิวัฒน์ได้ชัดเจนมากขึ้น และทลายกำแพงวินัยทางวิชาการของ “รัฐศาสตร์” และ “นิติศาสตร์” ด้วยการมองความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับกฎหมาย ให้ใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject กฎหมาย th_TH
dc.subject การเมือง th_TH
dc.subject ประชาธิปไตย th_TH
dc.subject พลเมือง th_TH
dc.subject สาขานิติศาสตร์ th_TH
dc.title นิติภิวัฒน์กับความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและกฎหมาย: กรอบการทำความเข้าใจการขยายตัวของกฎหมายด้วยมุมมองทางรัฐศาสตร์ th_TH
dc.title.alternative Juridification and the relation of politics and law: An approach to expansions of law in political studies en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 3
dc.volume 8
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative Juridification is an approach to understand the expansions of rules for new areas of social conflicts. It is multidisciplinary and interdisciplinary approach that considerably connects “politics and law.” In this article, meanings and process of juridification would be considered as relations of politics and law. In term of law, it is products of politics and prizes of political struggles among interest and pressure groups. For this reason, juridification is highly politics in case of social problem-solving mechanisms and increase of state power, especially legislative and judicial branches. This debate leads to quarrels between juridification and de-juridification approaches. Finally, this article would elucidate case studies in brief which are citizenship, social welfare, and democracy, to examine how juridification matters. The main argument of this article thus deconstructs the discipline of “political science” and “law school” by demonstrating a symbiosis relation of politics and law. en
dc.journal วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law
dc.page 137-167.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account