DSpace Repository

รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนในตลาดการค้าชายแดน: กรณีศึกษาตลาดโรงเกลือจังหวัดสระแก้ว

Show simple item record

dc.contributor.author เสริมสิทธิ์ สร้อยสอดศรี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:22Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:22Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3355
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนในตลาดการค้าชายแดน กรณีศึกษาตลาดโรงเกลือ จังหวัดสระแก้ว และค้นหาแนวทางการจัดการปัญหา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth-interview) การสนทนากลุ่ม (Focus group) ศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 14 คน เป็นกลุ่มตัวอย่างฝั่งไทย 7 คน ฝั่งกัมพูชา 7 คน จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการในตลาดการค้าชายแดนจังหวัดสระแก้ว (ตลาดโรงเกลือ) ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนมี อย่างนี้ 1) การแสวงหาค่าเช่าทางธุรกิจ 2) การมีส่วนได้ส่วนเสียส่วนตัว 3) การใช้นโยบาย กฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆไม่ถูกต้อง 4) การละเลยการปฏิบัติหน้าที่ 5) การให้และรับสินบน 6) การใช้อำนาจหน้าที่หน่วยงานทางราชการในทางที่ผิด และ 7) รูปแบบอื่นๆ ส่วนแนวทางการแก้ไขปัญหาควรทำอย่างเป็นระบบทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ โดยดำเนินการทั้ง 3 ส่วน คือ 1) หน่วยงาน/องค์การ ให้มีเจ้าภาพหลักและคณะทำงานที่ชัดเจนทั้งระดับบนและระดับพื้นที่ 2) ปรับปรุงระบบงาน เช่น ดำเนินงานตามกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (GMS) เกี่ยวกับการพัฒนาระบบงาน One stop service สิทธิพิเศษทางภาษีประเทศในกลุ่มอาเซียน (AISP) ความร่วมมือด้านการศุลกากรระหว่างประเทศ (single inspection ) ปรับปรุงงาน/ระบบราชการ ที่เป็นสาเหตุใหญ่ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐขาดประสิทธิภาพ ทบทวน/ ปรับปรุงกฎหมาย/ ระเบียบต่างๆ ให้ชัดเจนมากขึ้น สร้างระบบการตรวจสอบแบบย้อนกลับสองทาง นำระบบพัฒนาสารสนเทศที่เป็นมาตรฐานสากลมาใช้ให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน 3) หน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ต้องปลูกฝังและสร้างคนดีที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่สำคัญ คือมีจิตสำนึกการดักในการเป็นคนดีมีคุณธรรมจริยธรรม ควรนำหลักการบริหารราชการแบบธรรมาภิบาลมาใช้ในระบบราชการมากขึ้น ปรับปรุงกระบวนการการตรวจสอบที่เข้มงวดมากขึ้น th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การขัดกันแห่งผลประโยชน์ th_TH
dc.subject การค้าชายแดน th_TH
dc.subject ตลาดโรงเกลือ th_TH
dc.subject สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ th_TH
dc.title รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนในตลาดการค้าชายแดน: กรณีศึกษาตลาดโรงเกลือจังหวัดสระแก้ว th_TH
dc.title.alternative The type of conflic to interest in border market: A case study of Sa-Kaeo province en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 8
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative The purpose of this qualitative study: is to study the type of Conflict of interest in border market. To find ways to tackle the problems. The study population and a sample of 14 people is among the seven people on Thailand, Cambodia, The Sampling from state agencies, private and public sector entrepreneurs in the in border market. The study tools were in-depth interviews and focus groups. The study found that The types of conflict of interest in border market were: 1) Acquiring the rental business 2) The stakeholder's 3) The use of policies, laws, regulations or ordinances invalid 4 Failure to comply 5) Bribery 6) The use of official authority agency abuse and 7) other type of Conflict of interest. Forms of solutions should be done in a systematic, both at policy and practice levels. The implementation of these three parts: 1) the agency/ organization. The primary host and the clear work both on and 2) improved as the implementation of the framework for cooperation Mekong Sub-region (GMS). On the development of the One stop service privileges, Tax privileges of Countries in system Asia nal customs cooperation (Single Inspection) Modifications system of bureaucracy. Reason for the in efficiency of the state authorities, government should provide for a review and revision of laws and regulations to more clearly. Establish a system to monitor two-way reverse. Information system development at a global standard used to have flexibility in the workplace 3) the personnel involved Agencies must cultivate and create good people who are responsible. It is a conscious awareness of the morally good, ethics. The government should take a good governance system used in more bureaucracy. Improve the inspection process more stringent. en
dc.journal วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law
dc.page 231-260.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account