DSpace Repository

บทวิพากษ์ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล: ข้อจำกัดในการสร้างคำอธิบายทางสังคมศาสตร์

Show simple item record

dc.contributor.author จักรี ไชยพินิจ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.available 2019-03-25T09:23:21Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3351
dc.description.abstract ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลเป็นทฤษฎีที่มีคุณูปการอย่างมากต่อการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคลี่ให้เห็นถึงปัจจัยหลักของการตัดสินใจเลือกของตัวแสดง แต่ในทางปฏิบัติแล้วทฤษฎีดังกล่าวนี้ ยังมีข้อจำกัดที่สำคัญ อันได้แก่ ระดับการวิเคราะห์ซึ่งจำเพาะเจาะจงเพียงตัวแสดงรายย่อย ความเป็นทางการของตัวทฤษฎีที่มีเงื่อนไขมากมายปัญหาในด้านการคำนึงถึงบรรทัดฐานที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์เพียงลำพัง การขาดข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อทดสอบทฤษฎี ตลอดจนการละเลยอัตลักษณ์ของตัวแสดงที่มากกว่าผลประโยชน์ในการตัดสินใจ ข้อจำกัดเหล่านี้ก่อให้เกิดคำถามถึงการนำทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลมาใช้ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมศาสตร์ที่มีความสลับซับซ้อน ผลที่ตามมาคือ ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ที่ได้อิทธิพลจากทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล อาทิทฤษฎีเสรีนิยมใหม่เชิงสถาบันของ โรเบิร์ต โคเฮน ทฤษฎีการข่มขู่ยับยั้ง ของสายอาชญาวิทยา และทฤษฎีทางเลือกสาธารณะของ วินเซนต์ ออสตรอม และเอลินอร์ ออสตรอม ย่อมมีข้อจำกัดในการสร้างคำอธิบายต่อปรากฏการณ์ทางสังคมศาสตร์เช่นเดียวกัน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล th_TH
dc.subject ทฤษฎีเกม th_TH
dc.subject ปฏิฐานนิยม th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title บทวิพากษ์ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล: ข้อจำกัดในการสร้างคำอธิบายทางสังคมศาสตร์ th_TH
dc.title.alternative A critique on rational choice theory: Limitations on explanations of social phenomenon en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 4
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative Rational Choice Theory has been theoretically beneficial onexplaining a social phenomenon, particularly in unveiling logic behindpreferences of agency. In practically, Rational Choice Theory, nevertheless,has some critical limitations; those are, level of analysis narrowly focusingon methodological individualism, formalization of theory itself containingexcessive conditions, problem on normative concern based solely onpre-given interests, lack of empirical data for testing theory, andabandonment on agency’s identity probably prevailing pre-given interests.These limitations have raised some questions on applying Rational ChoiceTheory to effectively explain a complex social phenomenon. Because ofthis, those theories influenced by Rational Choice Theory: such as, RobertKoehane’s Neoliberal Institutionalism; Deterrence Theory in Criminology,and Vincent Ostrom and Elinor Ostrom’s Public Choice Theory, woulddefinitely embark on analogous limitations. en
dc.journal วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา = Burapha Journal of Political Economy
dc.page 51-84.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account