dc.contributor.author |
จักรี ไชยพินิจ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:23:16Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:23:16Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3252 |
|
dc.description.abstract |
แนวการวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบันแบบดั้งเดิมที่ยึกติดกับตัวสถาบันที่เป็นทางการมากเกินไป ทำให้การวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางสังคมขาดความรอบด้านและไม่สมบูรณ์ การเกิดขึ้นของแนวการวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบันแบบใหม่ได้เข้ามาลดข้อจำกัดดังกล่าว และสร้างความรอบด้านในการวิเคราะห์ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ระดับการวิเคราะห์ที่เคยผูกติดอยู่กับความเป็นองค์รวม (Collectivism) ในแนวการวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบันแบบดั้งเดิม ได้ถูกผสมผสานด้วยระดับการวิเคราะห์แบบปัจเจกนิยม (Individualism) ส่งผลในแนวการวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบันมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เพื่อสร้าง
ความเป็นรูปธรรมในการอธิบาย บทความชิ้นนี้ได้นำทฤษฎีเชิงสถาบัน (Institutional Approach) ของเบเวอรี่ ครอเฟิร์ด (Beverly Crawford) ที่ได้รับอิทธิพลจากแนวการวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบันแบบดั้งเดิมมาเป็นตัวแบบในการศึกษา เมื่อนำแนวการวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบันแบบใหม่เข้ามาศึกษา การศึกษานี้สามารถสรา้งกรอบการวิเคราะห์ที่ทำให้เห็นถึงต้นเหตุของความขัดแย้งทางวัฒนธรรมในแต่ละท้องที่ได้อย่างครอบคลุมมากขึ้น และสามารถนำไปสู่การหาทางออกของปัญหาได้อย่างตรงประเด็นมากยิ่งขึ้น |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบัน |
th_TH |
dc.subject |
การเมือง |
th_TH |
dc.subject |
ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม |
th_TH |
dc.subject |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
แนวการวิเคราะห์ทางการเมืองเชิงสถาบันของเบเวอรี่ ครอเฟิร์ด: บทวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ |
th_TH |
dc.title.alternative |
An institutional approach of Beverly Crawford: A critical analysis |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
1 |
|
dc.volume |
3 |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
A Traditional Institutionalism narrowly focusing on formal institutions had brought about an incomprehensive and incomplete analysis on social phenomenon. An establishment of New-Institutionalism has been appeared to lessen such limitation, and fulfill more comprehensive analytical findings. Level of analysis bounded with collectivism via a Traditional Institutionalism has been assorted with individualism. This reveals a more inclusive Institutionalism. In order to concrete an explanation, this article has selected Beverly Crawford's Institutional approach mainly influenced by a Traditional Institution as a model of study. It discovers that when bringing the New-Institutionalism to apply with a model, an analytical framework for studying causes of cultural conflict in each area can be conducted comprehensively. This result can probably lead to a conclusive and accurate solution. |
en |
dc.journal |
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา = Burapha Journal of Political Economy. |
|
dc.page |
1-27. |
|