dc.contributor.author | เพ็ญศรี กังวาลโชคชัย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:26Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:26Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/321 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะการมีงานทำ และความคิดเห็นของบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษา ต่อการจัดการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพากลุ่มตัวอย่างเป็นบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2547 จำนวน 396 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของบัณฑิต ภาวะการมีงานทำ และความคิดเห็นต่อการจัดการศึกษา จำนวน 64 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะการมีงานทำของบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่มีงานทำ ร้อยละ 74.75 การว่างงาน ร้อยละ 15.15 และการศึกษาต่อ ร้อยละ 10.40 โดยใช้เวลาในการหางานทำ1-3 เดือน บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ 8,000-12,000 บาท/เดือน และปฏิบัติงานตรงกับสาขาวิชาเอก ปัจจัยที่นายจ้างรับบัณฑิต เข้าทำงาน 3 อันดับแรก ได้แก่ มีความเชื่อมั่นทางบุคลิกภาพ กริยา วาจา รองลงมา สาขาวิชาที่จบตรงกับความต้องการของนายจ้าง และมีความสามารถพิเศษ เช่น ภาษาต่างประเทศ และด้านคอมพิวเตอร์ 2. บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อการจัดการศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านอาจารย์ผู้สอน ด้านหลักสูตรวิชาเอก อยู่ในระดับมากด้านหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป ด้านกิจกรรมนิสิตและอื่น ๆ ด้านเครื่องใช้และอุปกรณ์ (โสตทัศนูปกรณ์) สำหรับการเรียนการสอน ด้านสภาพแวดล้อม อยู่ในระดับปานกลาง และด้านความรู้และทักษะทางภาษา พบว่า ภาษาไทย อยู่ในระดับมาก ภาษาอังกฤษ อยู่ในระกับปานกลาง และภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาฝรั่งเศส อยู่ในระดับน้อย 3. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาต่อการจัดการศึกษาในภาพรวมไม่แตกต่างกันตามภาวะการมีงานทำของบัณฑิต 4. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาต่อการจัดการศึกษาในภาพรวมแตกต่างกันตามสาขาวิชาเอก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.subject | กำลังคนระดับอุดมศึกษา - - ไทย - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | นักศึกษา - - การจ้างงาน | th_TH |
dc.subject | บัณฑิต - - การจ้างงาน - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การศึกษาภาวะการมีงานทำ และความคิดเห็นของบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาต่อการจัดการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | A study of the graduates' employment and opinions on the education management of the faculty of humanities and social sciences Burapha University | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2550 | |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study the employment and opinions of the graduates on the management of the education programs of the Faculty of Humanities and Social Sciences, Burapha University. The sample consisted of 396 graduates of A.D. 2003, and the instrument for collecting data was a 64-item questionnaire on the graduates' general information,employment, and opinions on the management of the education programs. The statistical devices for data analysis were frequency, percentage, means, standard deviation, and One-way ANOVA.. The study revealed the following: 1. The percentages of the graduates who have been employed, unemployed, and continuing their education were 75.75%, 15.15%, and 10.40% respectively. The average time spent on seeking employment was 1-3 months. Most of the employment was in private sector with the salaries between 8,000-12,000 baht/month and the jobs were in relations to the graduates' fields of study. The first three determining factors for the chance of employment were 1) the graduates' self-confidence, which included their manners, and verbal exchange; 2) their fields of study; and 3) other advantages such as skills in foreign languages and computer. 2. The opinion of the graduates on the management of the education programs as a whole was ranked at medium. When each aspect was considered, teaching in their major fields was ranked at a high level; teaching coures in general education, student activities and others such as audio-visual equipment, and environment were ranked at medium; teaching the Thai language, and English were ranked at a high level and medium respectively. Teaching other language such as Chinese, Japanese, Korean, French was ranked at a low level. 3. There was no difference in the opinions of the graduates on the education management when the graduates' employment was compared. 4. There was a statistical difference at .05 level in the opinions of the fraduates on the management of the education programs when their major fields of study were compared. | en |
Files | Size | Format | View |
---|---|---|---|
There are no files associated with this item. |