dc.contributor.author |
ชมพูนุช ปัญญไพโรจน์ |
th |
dc.contributor.author |
สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:47:24Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:47:24Z |
|
dc.date.issued |
2549 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/297 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อต้องการศึกษากลยุทธ์สร้างสรรค์งานโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา วิธีการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงปริมาณ (Quantitative Content Analysis) โดยมีเครื่องมือในการเก็บข้อมูล คือ แบบลงรหัสข้อมูล (Coding Sheet) กลุ่มตัวอย่าง คือ งานโฆษณาที่ตีพิมพ์ในนิตยสารที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาจำนวน 18 รายชื่อ ตั้งแต่เดือนมกราคม - มิถุนายน 2547 โดยมีโฆษณารวมทั้งสิ้น 1,262 ชิ้น
ผลการวิจัยพบว่า วัดได้ลงโฆษณาเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการในสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนามากที่สุดร้อยละ 47.7 รองลงมาได้แก่ ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือร้านค้า ร้อยละ 41.0 และบุคคลทั่วไป มีจำนวน 39 ชิ้น ร้อยละ 3.1 ส่วนสินค้าที่มาลงโฆษณา ได้แก่ พระเครื่อง พระบูชา ร้อยละ 75, เครื่องรางของขลัง คิดเป็นร้อยละ 32.7, สินค้าประเภทรูปปั้น เช่น เทพ เทวดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นสัญลักษณ์ ร้อยละ 8.9 โฆษณาส่วนใหญ่เน้นกลยุทธ์ที่เน้นด้านเหตุผล ร้อยละ 83.5, เป็นกลยุทธ์ด้านเกี่ยวกับสังคม ร้อยละ 40.7 และกลยุทธ์ด้านจำเป็นเร่งด่วน ร้อยละ 1 ในประเด็นเกี่ยวกับการโฆษณานั้น ผลการวิจัยพบว่า สินค้าประเภทพระเครื่อง พระพุทธรูปส่วนใหญ่ มักจะอยู่ในรูปของโฆษณาทั่วไป ร้อยละ 81.3 และอยู่ในรูปของบทความแฝงประเภทต่าง ๆ ร้อยละ 18.7
เมื่อพิจารณาในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างประเภทของสินค้า และกลยุทธ์สร้างสรรค์การโฆษณา ผลการวิจัยพบว่า การโฆษณาสินค้าประเภทพระเครื่อง พระพุทธรูป
รูปปั้น เทพ เทวดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นสัญลักษณ์ มีความสัมพันธ์กับการใช้กลยุทธ์ในงานโฆษณาด้านเกี่ยวกับสังคม (Social Segmentation) และด้านเกี่ยวกับความเป็นเหตุผล (Rational Segmentation) และการไม่ใช้กลยุทธ์ในงานโฆษณา ส่วนการโฆษณาสินค้าประเภทเครื่องรางของขลัง มีความสัมพันธ์กับการใช้กลยุทธ์ในงานโฆษณาด้านเกี่ยวกับสังคม (Social Segmentation) ด้านเกี่ยวกับความเป็นเหตุผล (Rational Segmentation) และการไม่ใช้กลยุทธ์สร้างสรรค์โฆษณา ส่วนโฆษณาที่เกี่ยวกับการเข้าร่วมพิธีกรรมเพื่อเสริมบารีนั้นส่วนใหญ่เป็นกลยุทธ์ในงานโฆษราด้านเกี่ยวกับสังคม (Social Segmentation) |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2547 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การประชาสัมพันธ์ - - แง่ศาสนา |
th_TH |
dc.subject |
การประชาสัมพันธ์ |
th_TH |
dc.subject |
การโฆษณา - - แง่ศาสนา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
บนเส้นทางขายความหวัง : การวิเคราะห์กลยุทธ์สร้างสรรค์งานโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา |
th_TH |
dc.title.alternative |
Hope for sale : an analysis of advertising message strategies in buddhism-related printed media |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2549 |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this research study was to analyze the advertising message strategies in Buddhism-related magazines and to study the relationship between the product categories and advertising message strategies. The research methodology was quantitative content analysis. The sample was 1,262 advertisements that were published in 18 Buddhism-related magazines.
The research results revealed that 47.7 percent of the advertised products or services in the magazines was belong to temples while 41 percent of them was belong to private organizations and companies. The product or services advertised in the magazines were Buddha images and amulets (75 percent), amulets (32.7 percent) and symbolic sculptures or figures (8.9 percent). The advertising message strategies used were rational segment (83.5 percent), social segment (40.7 percent) and acute need segment (1 percent). The advertisements were in the form of regular advertising (81.3) and advertorial (18.7 percent).
For the relationship between product categories and advertising message strategies, the results showed that social, rational and no message strategies were used in the Buddha images and amulets and symbolic sculpture product advertisements. The social message strategies were used in rites-related advertisements. |
en |