dc.contributor.author |
ธร สุนทรายุทธ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:47:22Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:47:22Z |
|
dc.date.issued |
2554 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/261 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความเสี่ยงที่เปราะบางด้านทรัพยากรบุคคลกับการจัดการโดยการจัดลำดับความเสี่ยงนั้น ๆ 2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารระดับสูง 3 กลุ่ม และ 3) เสนอรูปแบบการบริหารความเสี่ยงที่เปราะบางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลกับการจัดการที่สัมพันธ์กับผลผลิตตามบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (ออกนอกระบบ) การวิจัยใช้ระเบียบผสมระหว่างปริมาณและคุณภาพ (Mix Method Research) ในการหาข้อมูลความเสี่ยงจากเอกสาร แบบสอบถามและสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติด้านความเสี่ยงโดยตรง หลังจากนั้นจึงได้ปรับแบบสอบถามเพื่อใช้กับผู้บริหารระดับสูง 3 กลุ่มในสภาพก่อนและหลังการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐด้วยเทคนิคเดลไฟล์ประยุกต์ การทดสอบความสอดคล้องของผู้บริหารระดับสูง 3 กลุ่มโดย The Kruskal Walls One-way Analysis of Variance by Ranks แล้วใช้เทคนิคแบบพหุลักษณะเนื้อหาฉันทามติ (Multi Attribute Consensus Reachnig: MARC) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้
1. ปัจจัยความเสี่ยงที่เปราะบางบางด้านทรัพยากรบุคคล มี 6 ประเด็น ได้แก่ 1) วิธีการสรรหาอาจารย์ ยังไม่มีประสิทธิภาพดีพอทำให้ไม่ได้คนดี คนเก่งมาเป็นอาจารย์ 2) การเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐทำให้ผู้สมัครเป็นอาจารย์คิดว่าไม่มั่นคงจึงขาดแรงจุงใจในการทำงาน 3)ยังไม่มีแหล่งข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้สมัครเป็นอาจารย์ทั่วไปทั้งในประเทศและต่างประเทศ 4)ระบบเลื่อนขั้นเงินเดือนอาจไม่สัมพันธ์กับการทำงานอย่างแท้จริง แต่/และรายได้ขึ้นอยู่กับโอกาส 5)ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานทางวินันอาจารย์หรือพนักงานที่มีประสิทธิภาพ
2. องค์ประกอบที่สัมพันธ์กับผลผลิตตามบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยในกำกับมี 6 ประเด็นได้แก่ 1) ผู้บริหารใช้งบประมาณไม่เป็นไปตามแผนงาน 2) ควรมีหน่วยงานมากำหนดทิศทางอนาคตของมหาวิทยาลัย 3) คุณภาพการบริหารและการได้มาซึ่งผู้บริหาร 4) คุณภาพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาขาดความรู้ทางศิลปศาสตร์ 5) ขาดผลงานวิจัยเชิงสรา้งสรรค์องค์ความรู้ใหม่และต่อยอดที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ และ 6) มหาวิทบาลัยพึงเป็นผู้นำเชิงความคิดแก่ชุมชน
ส่วนผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องของผู้บริหารระดับสูง 3 กลุ่ม ส่วนใหญ่เห็นสอดคล้องมีข้อยกเว้นปัจจัยความเสี่ยง ด้านการประเมินผลงานอาจารย์เป้นระบบ เน้นประสิทธิภาพและมีองค์ประกอบที่ส่งผลต่อการจัดการและคุณภาพอยู่ 2 ด้านคือ การวิจัย และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนับว่าเป็นข้อขัดแย้งที่ยังไม่มีฉันทามติระหว่างกลุ่มผู้ซึ่งจะต้องนำไปสร้างความเข้าใจให้ตรงกันในด้านงานหลัก และงานรองของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างผู้บริหารก่อนที่จะนำสู่กรบริหารจัดการความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับนักวิจัยที่มีประสบการณ์จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี 2553-2554 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ |
th_TH |
dc.subject |
มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาสังคมวิทยา |
th_TH |
dc.title |
รูปแบบการบริหารความเสียงที่เปราะบางเฉพาะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลกับการจัดการที่สัมพันธ์กับผลผลิตตามบทบาทหน้าที่ของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Risk management model as vulnerability areas of management and human relation with role and authority of Thai autonomous public university |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2554 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to 1) to study the level of human resources' vulnerability risk management by the mean of risk management 2) to study the opinions from the three groups of senior executives, and 3) to proposed the vulnerability risk management model in the aspects of human resource relative to productivity according to the role and authority of autonomous public university. The research utilized the mixed qualitative and quantitative methoda in gaining information regarding risks from the documentation questionnaire and the interviews with personnel who were involving directly with risk management. The questionnaire was then adapted in the use for gaining information from the three groups of senior executives in prior and after the authority of autonomous public university and analyzed by the median of Applied Delphi Technique. The Kruskal Wallis One-way Analysis of Variance by ranls and the multiple forms of content, consensus (MultiAttribute Consensus Reachnig: MACR) was utilized in order to test the consistency of the answers from the three group senior executives. The results were summarized below.
1. The six aspects arised from the vulnerability risk management of human resource include 1) the recruitment process of teachers was found to be ineffective, the personal recruited were not qualifed. 2) the candidates of teachers perceived the position in the authority of autonomous public university to be unstable and therefore tack working incentive 3) Inadequate of information technology resources of the candidate of teachers domestically and abroad 4) the salary incentive system was not consistent with the position as earnings by chance and 5) the Inadequatefor the knowledge in the disciplinary procedures as the teachers and faculty staffs.
2. The factors in lation to the productivity of the authority of autonomous public university were including the six factors: 1) the use of budget by the executives was not in accrordance as plan 2) there should be the department in order to determine the future direction of the university 3) quality of management and the acquisition of executives 4) the quality of graduates who lack of knowledge in the liberal arts 5) the lack of innovative research in the building of new knowledge and the expansion for developing country and 6) the university was not the leader of knowledge for the community as it should be.
The results of the analysis on the analysis on the consistency from the three groups of senior executives feedbacks found mostly consistent. The exception was for the risk factors under the faculty evaluation as a system which need to stress on the effectiveness. The two factors found to have the influence over the management and qualities were research and promotion of culture heritage. These two factors found to be in conflict and the consensus among the geoup of the executive must be reached prior bringing the risk management into effect under the authority of autonomous public university |
en |