dc.contributor.author |
รุ้งนภา ยรรยงเกษมสุข |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:16:08Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:16:08Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2616 |
|
dc.description.abstract |
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ เป็นหนึ่งในทฤษฎีสังคมวิทยา ที่พยายามอธิบายปรากฎการณ์สังคมด้วยมุมมองที่ให้ความสำคัญกับตัวแสดงในฐานะเงื่อนไขที่มีอิทธิพลกำหนด ลักษณะประการสำคัญของทฤษฎีนี้คือสัญลักษณ์ ตัวแสดงที่มีความกระตือรือร้น การปฏิสัมพันธ์ และการมีอยู่จริงของปฏิสัมพันธ์ นั่นหมายความว่า ทฤษฎีนี้เชื่อว่าสังคมหรือโครงสร้างสังคมเกิดจากการที่มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กัน ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นทำให้มนุษย์ร่วมกันสร้างสัญลักษณ์ขึ้นมา การดำรงอยู่ของสัญลักษณ์ แบบแผนการกระทำ และโครงสร้างสังคมโดยเฉพาะวัตถุทางสังคม เนื่องจากการกระทำของปัจเจกชน หากปัจเจกชนปฏิเสธหรือเปลี่ยนสัญลักษณ์ แบบแผนการกระทำ หรือโครงสร้างสังคม โครงสร้างก็ไม่สามารถมีอิทธิพลต่อปัจเจกชนได้ การกระทำของปัจเจกชนที่อยู่ในสังคมจึงไม่ได้ถูกกำหนดจากโครงสร้างสังคม หากแต่ต้องทำการเลือกและตัดสินใจท่ามกลางทางเลือกมากมายว่าทางเลือกใดจึงจะดีที่สุด เป็นประโยชน์ที่สุด สอดคล้องกับคุณค่าของปัจเจกชนและสังคมในสถานการณ์นั้น ๆ ฉะนั้นปรากฎการณ์ทางสังคมมนุษย์จึงเป็นผู้สร้าง ผลิตซ้ำและเปลี่ยนแปลง |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม |
th_TH |
dc.subject |
ปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์กับการอธิบายปรากฏการณ์สังคมจากมุมมองตัวแสดง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Symbolic interaction theory and the explanation of social phenomena from actor perspective |
en |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
2 |
|
dc.volume |
5 |
|
dc.year |
2556 |
|
dc.description.abstractalternative |
Symbolic interaction theory is one of the sociological theories that try to explain the social phenomena with actor perspective as the determinant condition. The main characteristics of symbolic interaction theory are symbols, active actor, interaction, and empirical of interaction. It means that this theory believes that society or social structure is created by individual interaction. It causes individual createsymbols. The existence of symbols, patterens of action, social structure especially social objects are the result of individual actions. If individuals refuse or change symbols. Patterns of action and social structures, they cannot have any effects to people. In society, individual actions are not caused by social structure but individual have to choose and make a decision among choices for making the best thing, the best benefit, and corresponding to the value of individual and society in that situation. So, Social Phenomena are created, reproduced and changed by individuals. |
en |
dc.journal |
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law |
|
dc.page |
69-89. |
|