dc.contributor.author | กฤษณ์ ปาลสุทธิ์ | |
dc.contributor.author | กุหลาบ รัตนสัจธรรม | |
dc.contributor.author | พิศมัย เสรีขจรกิจเจริญ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:20Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:20Z | |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/236 | |
dc.description.abstract | การวิจัยปฎิบัติการมีส่วนร่วมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนพื้นที่ศึกาษาอยู่ใน อำเภอเกาะช้าง เมือง และเขาสมิง กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเป็น ผู้ที่รับผิดชอบปฎิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการอุบัติเหตูอุบัติเหตุจราจรทั้งภาครัฐและเอกชนของสามพื้นที่ศึกษา ใช้เครื่องมือที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว7 ชุดเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพจนได้ข้อมูลที่อิ่มตัววิเคราะห์สถิติเชิงพรรณาในรูปจำนวน ร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหาซึ่งผ่านการตรวจสอบสามเส้า ได้ผลการวิจัยโดยสรุปคือ บริบทสำคัญที่ใช้ประกอบในการวางแผนคือ การวิเคราะห์จุดเสี่ยงและสภาพแวดล้อมของการเกิดอุบัติเหตุ พบว่าอำเภอเกาะช้างมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงสุดและใน 3 อำเภอพบตำบลเสี่ยง 8 ตำบลจุดเสี่ยงที่สำคัญ 30 จุดคือ พบในอำเภอเกาะช้าง 5 จุด อำเภอเมือง 9 จุด อำเภอเขาสมิง 16 จุด อำเภอเกาะช้าง ส่วนใหญ่เป็นถนนแคบโค้งหักศอก ถนนขึ้นลงเนินลาดชัน ไม่มีไหลทางมีนักท่องเที่ยวต่างชาติและต่างพื้นที่ขับขี่ยานพาหนะโดยไม่คุ้นเคยกับกฎจราจรของไทยและสัญญาณจราจรยังไม่เป็นสากล อำเภอเมือง สภาพถนนเป็นทางแยกมีซอยย่อยหลายซอย เกาะกลางมีต้นไม้สูงบังสายตาถนนรองแคบลาดเอียงสู่ถนนสายหลัก ซึ่งกว้างมากทำให้รถวิ่งเร็วและมีรถจอดพักบริเวณไหล่ทางช่วงกลางคืนมีพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่รถที่เป็นปัญหา ส่วนอำเภอเขาสมิง บางจุดถนนโค้งมากเป็นเนินและมืดมาก ขาดไฟกระพริบและไม่มีไหลทางจุดกลับรถใกล้ทางแยก มีพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆและสภาพรถที่เป็นปัญหาเช่นกัน แผนกลยุทธ์เครือข่าย การจัดการอุบัติเหตุจราจรบนถนนที่เหมาะสม เป็นที่ยอมรับมากกว่าร้อยละ 70 มีความสอดคล้องกับบทบาทการดำเนินงาน ก่อนจนถึงหลังเกิดเหตุ ของหน่วยงานที่เกื่ยวข้อง ซึ่งการจัดทำแผนนี้ได้จากการประเมินเสริมพลัง การประชุมกลุ่มเฉพาะ และผ่านการเห็นชอบจากผู้เชี่ยววาญได้แผลกลยุทธ์โดยรวม 4 พันธกิจ 8 ยุทธศาสตร์ และ 50 กลยุทธ์แยกเป็นแผนกลยุทธ์อำเภอเกาะช้าง อำเภอเมือง และอำเภอเขาสมิง 40,39,36 กลยุทธ์ตามลำดับ ซึ่งข้อเสนอสำคัญในแผนคือการจัดระบบศุนย์เตือนภัย/รับแจ้งเหตูทางถนนที่มีประสิทธิภาพ สร้างระบบโครงข่ายถนนปลอดภัย สนับสนุนงบประมาณ แรงจูงใจในทุกภาคส่วน สร้างพื้นฐานของสังคมสู่วัฒนธรรมความปลอดภัยทางถนน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อความปลอดภัยทางถนนสร้างพื้นฐานของสังคมสู่วัฒนธรรมปฎิบัติตามกฎหมาย วิเคราะห์และปรับปรุงแก้ไขลักษณะเสี่ยงของถนน ดังนั้นหากได้มีการนำแผนกลยุทธ์นี้นำไปใช้อย่างต่อเนื่องในเครือข่าย จะช่วยให้การจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนของจังหวัดตราดเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับเงินสนับสนุนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน 2553 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การจราจร | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.subject | อุบัติเหตุทางถนน | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุตราจรทางถนน | th_TH |
dc.title.alternative | The network strategic development for managing road traffic accident | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2553 | |
dc.description.abstractalternative | This participatory action research aims to develop the network strategic plan for managing road traffic accident. Studies areas were in koh chang, Muang Trad and Koa Saming District. The key informants are people who are responsible for operating traffic accidents on public and private sectors of the three areas. Seven quality instruments were used to collect qualitative and qualitative data was saturated. Data analysis was done by descriptive statistics on the percentage and triangulation content analysis. The revealed that The important contexts applied process including risk spot analysis and the accident circumstances. This research that: Koh Chang is the district found the highest rafe. In the three risk districts, eight subdistricts contain 30 significant risk spots. In Koh Chang, Muang Trad and Koa Saming District Found 5, 9, and 16 risk spots respectively. Majority roads in Koh Chang are not only narrow and curved sharply but there are also many steep roads along the hills with no pavement. Another factor is there are many foreign tourists who are familiar with the vehicles, Thai traffic regulations and there are not many intemational traffic signs in these areas. Roads in Muang Trad District consist of many alleyways. Furthemore high trees planted on traffic island block out the drivers. The minor roads are narrow and slping while the main rord is very wide, which lead driver very fast. Regularly, there are many cars part at the rode shoulder a night. Moreover, bad driver behaviors and faulty of vehicle is also cuase accidents. Some areas of Kao Saming District, the roads are sharp curve to the hills, dark, lack of flashing lights and no pavement. The U – tum is too close to the intersection. Risk behaviors were found. Furthermore also the Muang District, vehicles are faulty The strategic for developed traffic accident management network for prior to post traffic accidents management is appropriate, 70 percent acceptable and consistent with the role and operation of stakeholders. Empowerment evaluation and focus group discussion was done to develop this plan and was approved by expertise person. The strategic plan includes 4 mission, 8 strategic and 50 strategic; this combined 40, 39 and 36 strategic from Koh Chang, Muang and Koa Saming. The important suggestion on this plan are to emphasizes on the effective Emergency Notification Center and Warning Center system; creation of road safety network; support of budget and motivation for all motivation for all involved organization; creation of basic road safety road culture; change of driving behavior and build up a road regulations respec society; analyze and amend the risk circumstances on roads. Use of strategic plan continuously will lead traffic accident management on road in Trat Province to be more efficiency. | en |
Files | Size | Format | View |
---|---|---|---|
There are no files associated with this item. |