DSpace Repository

ก๊าซชีวภาพ: พลังงานหมุนเวียนจากขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนชายฝั่งทะเล

Show simple item record

dc.contributor.author พัฒนา ภูลเปี่ยม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/231
dc.description.abstract การหมักก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอยในครัวเรือน ชุมชนวอนนภา ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยหมักเศษอาหาร 25 กิโลกรัม ผสมกับน้ำจากระบบบำบัดน้ำเสียของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ปริมาตรรวม 100 ลิตร ภายใต้กระบวนการย่อยสลายแบบไร้อากาศ และเติมเศษอาหาร 500 กรัม ผสมน้ำจากระบบบำบัด ปริมาตรรวม 2 ลิตรต่อวัน สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ในช่วง 12.13-12.68 ลิตรต่อวัน ระหว่างการหมักพบการสะสมของเอทานอลและกรดอินทรีย์ระเหยง่าย ได้แก่ acetic acid, propionic acid, iso-butyricacid, butyric acid, iso-valetic acid และ lactic acid. pH การหมักอยู่ในช่วง 6.02-6.82 ระบบเริ่มผลิตก๊าซชีวภาพในวันที่ 7 และผลิตเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 15 วันของการหมัก ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าขยะมูลฝอยในครัวเรือน เช่น เศษอาหารเป็นวัตถุดิบที่มีคุณค่าอย่างมากสำหรับระบบการหมักก๊าซชีวภาพ th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2554 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ก๊าซชีวภาพ th_TH
dc.subject ขยะชุมชน th_TH
dc.subject ขยะมูลฝอย th_TH
dc.subject พลังงานหมุนเวียน th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ก๊าซชีวภาพ: พลังงานหมุนเวียนจากขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชนชายฝั่งทะเล th_TH
dc.title.alternative Biogas: renewable energy from solid waste in household and shore community en
dc.type research
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative Biogas fermentation by solid wast in household of Won Napha beach community and Nongmon market, Sunsuk, Amphur Muang, Chonburi. Used discarded food 25 kg. mixed with water from waste treatment system of Institute of Merine Science, Burapha University, total volume 100 liter in anaerobic digest condition and put into by discarded food 500 g. mixed with water from waste water treatment system in total volume 2 L/day. Biogas produced in 12.13-12.68 L/day. During processing, accumulation of ethanol and volatilize organic acid such as acetic acid, propionic acid, iso-butyric acid, butyric acid, iso-valetic acid and lactic acid. pH of system were 6.02-6.82. The biogas initial produced at 7 days of treatment and increased in 15 days of treatment. The results demonstrated that solid waste in household such as discarded food was rich material for biogas fermentation system en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account