DSpace Repository

บทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สุพจน์ บุญวิเศษ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ en
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.available 2019-03-25T09:14:42Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2293
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทของผู้เนื่องถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดชลบุรีแยกตามตัวแปร ตำแหน่ง เพศ และการศึกษา ระยะเวลาการการเป็นผู้นำ และเพื่อศึกษา ปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษาจากจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้นำท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรี ประกอบด้วยนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบล นายกองค์การบริหารส่วนตำบลกำนัน และผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 263 คน โดยได้จากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) ผลการวิจัยพบว่า 1. ในภาพรวมผู้นำท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรีมีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรองลงมาคือ ด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการป้องกันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ผู้นำท้องถิ่นที่มี เพศ ระดับการศึกษา และ ตำแหน่งแตกต่างกัน มีบทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. ผู้นำท้องถิ่นที่มีอายุแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.5 โดยพบว่า ผู้นำท้องถิ่นที่มีอายุตั้งแต่ 51 ปี ขึ้นไป มีบทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสูงกว่า ผู้นำท้องถิ่นที่มีอายุระหว่าง 25 – 30 ปี อายุระหว่าง 31 - 40ปี และ อายุระหว่าง 41-50 ปี 4. ผู้นำท้องถิ่นที่มีเวลาการดำรงตำแหน่งแตกต่างกัน มีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายได้พบว่า มีบางรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 คือ ผู้นำที่มีเวลาดำรงตำแหน่ง 3 วาระ (มากกว่า 8 ปี) มีบทบาทในการจัดการด้านการด้านฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สูงกว่าผู้นำที่มีเวลาดำรงตำแหน่ง 1 วาระ (1-4 ปี) และ 2 วาระ (5-8) ปี ตามลำดับ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ - - ชลบุรี th_TH
dc.subject การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ - - ชลบุรี th_TH
dc.subject ผู้นำชุมชน - - ชลบุรี th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title บทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 11
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative The purposes of this study were to examine and to compare the local leader roles for managing the Natural Resources and Environments (the NR&E) in the Chonburi provincial region with the following variables: gender, educational level, leadership duration; and to study problems, suggestions, and some approaches for managing the NR&E: All 263 samples of this study as local leaders in the area of Chonburi provincial consisted of chairmen of provincial administrative organizations, chairmen of Tambol municipalities, Mayors of sub-district administrative organizations, heads of sub district (kamnans), and village headmen. The samples was random sampling with the multi-stage random sampling approach. Research results were as follows: 1. Over, local leaders in Chonburi provincial had the roles for managing the NR&E at the high level. When identifying in each item, it was found that both items had highest average as the utilization of the NR&E, respectively. On the contrary, one item was lowest average as prevention of the NR&E. 2. Local leaders, who had the following differences in terms of gender, educational level, and position, had no significantly different on the roles for managing the NR&E as a whole and each item. 3. Local leaders, who had the difference of age, had no significantly different on the roles for managing the NR&E as a whole. But, in term of aging, it was significant at the .05 level. It was also found that local leaders ageing above 50 years old had the roles for recovering the NR&E higher than the local leader groups of 25-30, and 41-50 years old. 4. Local leaders, who had the difference of position, had significantly different on the roles for managing the NR&E as a whole. But, there was one item significant difference at the .05 level in term of the recovering of the NR&E. it was also found that local leader, who occupied position 3 times (More than 8 years), had the roles for recovering the NR&E higher than local leader who occupied at position the first time (1-4 years), and who occupied position 2 times (5-8) respectively. en
dc.journal วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ = Sripatum Review of Humanities and Social Sciences.
dc.page 76-88.


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account