DSpace Repository

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ธชณัฐ ภัทรสถาพรกุล th
dc.contributor.author วิโรจน์ ละอองมณี th
dc.contributor.author วรวิทย์ พูลสวัสดิ์ th
dc.contributor.author ธนพล พุกเส็ง th
dc.contributor.author กิตติ อุสิมาศ th
dc.contributor.author สายทอง สระทองแฝง th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/228
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดจันทบุรี เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจให้แก่นักท่องเที่ยวในการสืบค้นข้อมูลเชิงพื้นที่ประกอบการวางแผนการเดินทาง และระบบประเมิณศักยภาพทรัพยากรนันทนาการและช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการภายในจังหวัดจันทบุรี โดยศักยภาพทรัพยากรนันทนาการประเมินจาก 10 กลุ่มตัวชี้วัด อันได้แก่ (1) ความโดดเด่นของสังคมพืช (2) โอกาสในการพบเห็นสัตว์ป่า (3) ความโดดเด่นทางกายภาพของบานทรัพยากร (4) คุณภาพด้านทัศนียภาพของภูมิทัศน์ (5) นัยสำคัญด้านการสื่อความหมาย (6) ความเหมาะสมของทรัพยากรต่อการประกอบกิจกรรมนันทนาการ (7) ความคงทนของสภาพแวดล้อม (8) ความเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวอื่น (9) ความปลอดภัย และ (10) ภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการท่องเที่ยว ส่วนช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการประเมินได้จาก 7 กลุ่มตัวชี้วัด อันได้แก่ (1) การเข้าถึงพื้นที่ (2) ความห่างไกล (3) ความเป็นธรรมชาติ (4) โอกาสการพบปะผู้คน (5) ร่องรอยผลกระทบจากกิจกรรมการใช้ประโยชน์ (6) สิ่งอำนวยความสะดวกและสภาพการจัดการ (7) การจัดการนักท่องเที่ยว โดยที่ทั้ง 2 ระบบจัดทำในรูปแบบออนไลน์ ผ่านเว็บ เพื่อใช้บ่งชี้สถานภาพของแหล่งท่องเที่ยว และสนับสนุนการตัดสินใจให้แก่ผู้บริหารจัดการการท่องเที่ยวในการวางแผนพัฒนาฐานทรัพยากรการท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังได้ทำการประเมินการรับรู้ของนักท่องเที่ยวต่อความแออัดและผลกระทบสิ่งแวดล้อมภายใน แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ 4 ประเภทในจังหวัดจันทบุรี ได้แก่ น้ำตก จุดชมวิว เส้นทางศึกษาธรรมชาติ และชายหาด พบว่าการรับรู้ดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงประสบการณ์และความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ซึ่งนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่รับรู้ได้ว่าแหล่งท่องเที่ยวเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และรู้สึกว่าคุณภาพประสบการร์การท่องเที่ยวเปลี่ยนแปลงไป th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ภายใต้เครือข่ายการวิจัยภาคกลางตะวันออก ประจำปีงบประมาณ 2550) en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี th_TH
dc.subject การท่องเที่ยว th_TH
dc.subject จันทบุรี - -ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว th_TH
dc.subject ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ th_TH
dc.subject ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดจันทบุรี th_TH
dc.title.alternative Decision support system for tourism development in Chanthaburi province en
dc.type Research th_TH
dc.year 2551
dc.description.abstractalternative This research aimed at developing the web-based GIS to facilitate the tourist and the evaluation system to assess recreation resource potential and recreation opportunity spectrum. Indicators for recreation resource potential were (1) richness of plant community (2) opportunity for wildlife sighting (3) physical uniqueness of resource-base (4) scenic quality of landscape (5) significance for resource interpretation (6) suitability for certain type of recreation activity (7) site resistance (8) connection of the site to others (9) safety (10) suitable climate, whereas those of recreation opportunity spectrum were (1) access (2) remoteness (3) naturalness (4) opportunity for social encounter (5) evidence of human impacts (6) facilities and site management (7) visitor management. These online system served as a decision support system in planning of tourism development and recreation resource management. In addition, perception of tourist on crowding and environmental impacts was investigated in 4 types of recreation areas including waterfall, viewpoint, nature trail and beach. The results revealed that most tourist perceived that crowding and environmental impacts within the recreation areas affected negatively correlated to recreation experiential change, overall satisfaction, and the needs for revisit the site. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account