DSpace Repository

การศึกษาสภาพชีวิตเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้ง : กรณีศึกษาโรงเรียนใจดี จังหวัดลพบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สมหมาย แจ่มกระจ่าง
dc.contributor.author จารุวรรณ แก่นทรัพย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:14:39Z
dc.date.available 2019-03-25T09:14:39Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2249
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา 1) สภาพชีวิตและปัญหาของเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้ง 2) วิธีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันของเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้ง การช่วยเหลือของโรงเรียนและชุมชน 3)แนวทางการแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งผู้วิจัยเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสังเกต สัมภาษณ์ การสอบถามการสนทนากลุ่มและการวิเคราะห์ข้อมูลแบบวิเคราะห์เนื้อหา ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้งได้เข้าเรียนในโรงเรียนใจดี จังกวัด ลพบุรีจำนวน 3 ครอบครัว รวมนักเรียน 9 คน ครู 4 คน ญาติ 3 คน และชุมชน 6 คน ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพชีวิตและปัญหาของเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้งคือ 1) มีที่อยู่อาศัยเป็นบ้านที่มีการก่อสร้างมั่นคง บรรยากาศภายในบ้านเงียบเหงา ว้าเหว่ ไม่มีผู้ดูแลและอบรมสั่งสอน ต้องเผชิญชีวิตตามลำพัง 2) การดำเนินชีวิตของเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้ง มีการช่วยเหลือตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในครอบครัวและพยายามดูแลกันเอง มีความรับผิดชอบในภารกิจประจำวันในเรื่องความเป็นอยู่และการเรียนเท่าที่จำเป็น 3) ปัญหาในการดำเนินชีวิตของเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้งคือ 1) ขาดความรักและความอบอุ่นในครอบครัว 2) ขาดอาหารและสารอาหาร 3) มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย 4) มีความเสี่ยงต่อการถูกล่วงละเมิดทางเพศ 5) มีความเสี่ยงอันตรายจากกระแสไฟฟ้า 6) มีแนวโน้มในการออกเรียนกลางคัน 2. วิธีการช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้ง คือ 1) การช่วยเหลือของโรงเรียนคือการประสานผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันของชีวิต 2) ชุมชนควรมีการประสานความร่วมมือกันระหว่าง วัด โรงเรียนและชุมชน จัดกิจกรรมเสริมสร้างความอบอุ่นให้กับนักเรียนและขยายเครือข่ายความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง เช่นกิจกรรมบ้านน่าอยู่ หนูทำได้ และกิจกรรมครอบครัว/ชุมชนสัมพันธ์ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject เด็กด้อยโอกาส - - ลพบุรี th_TH
dc.subject เด็ก - - การสงเคราะห์ th_TH
dc.subject เด็กด้อยโอกาส - - การดำเนินชีวิต th_TH
dc.subject เด็กด้อยโอกาส - - การสงเคราะห์ th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การศึกษาสภาพชีวิตเด็กด้อยโอกาสที่ถูกทอดทิ้ง : กรณีศึกษาโรงเรียนใจดี จังหวัดลพบุรี th_TH
dc.title.alternative A study of a way of living of disadvantaged children who were nobody caring at Jai-dee school in Lopburi en
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 1
dc.volume 2
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative The objectives of this research were to study 1) a way of living of the disadvantaged children who were nobody caring 2) how they helped themselves and how the school and community helped them 3) how to solve their problems. This research was qualitative. The population was 9 disadvantaged children at JaiDee School in Lopburi. Focus =-group discussion, in-depth interview and non-participatory observation were employed. The findings were as follows: 1. The disadvantaged children who were nobody caring lived in the stable houses without parents. They lived on whatever food they found. They had no loving environment; they lacked proper food, vulnerable to illness, infringement, and dangers like electrocution. On top of that they had no commitment to education. 2. They obtained all life necessities themselves. The school helped them to have their houses registered stationery and some scholarships. The community donated jobs and security, Buddhist monks helped to teach them and provided medical support by which they took care of their health. 3. To solve the problems, the school set a system where they support the student totally including all their necessities, expensed, clothing and financial support. The community, temple and school should from a program whereby they work together as a team to provide not only help and support but a safe loving environment. en
dc.journal วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม = Journal of Education and Social Development
dc.page 125-137.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account