dc.contributor.author |
วสันต์ เหลืองประภัสร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:12:49Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:12:49Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2239 |
|
dc.description.abstract |
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้นำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงในระบบความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรทางปกครองหรือความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลางกับท้องถิ่นอย่างมีนัยสำคัญหลักการใหม่ที่เรียกว่า “ การกำกับดูแล” ได้ถูกใช้เพื่อกำหนดแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่นไว้ ทั้งนี้เป็นไปโดยสอดคล้องกับหลักการปกครองตนเองของท้องถิ่น อย่างไรก็ดี หลักการดังกล่าวและเครื่องมือทางกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องนั้นเป็นแต่เพียงความสัมพันธ์ “ อย่างเป็นทางการ” เท่านั้น แต่การจะเข้าใจถึงปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างส่วนกลางกับท้องถิ่นเราจำเป็นต้องพิจารณาถึงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในระดับปฏิบัติงาน ซึ่งชี้ให้เห็นว่า ส่วนกลางนั้นมีเครื่องมือและการแสดงบทบาทในลักษณะต่าง ๆ ที่ส่งผลให้เกิดกระบวนการของการกล่อมเกลา (socialization) ให้ท้องถิ่นเกิดการยอมรับในคุณค่าและแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ที่กำหนดโดยส่วนกลาง เกิดกระบวนการของการกลายเป็นระบบราชการ (bureaucratization) รวมถึงการเพิ่มพูนอำนาจการควบคุมในรูปของ “ อิทธิพล” ที่ส่วนกลางมีต่อท้องถิ่นอย่างรอบด้าน ท้องถิ่นไทยจึงยังคงถูกควบคุมอย่างเคร่งครัดจากส่วนกลางราวกับเป็นหน่วยงานระดับรอง |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การกระจายอำนาจปกครอง |
th_TH |
dc.subject |
การปกครองท้องถิ่น |
th_TH |
dc.subject |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
th_TH |
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรทางปกครองการกำกับดูแล และความเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย : แนวคิด ประเด็นปัญหาและข้อพิจารณาบางประการ |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
17 |
|
dc.volume |
13 |
|
dc.year |
2548 |
|
dc.description.abstractalternative |
The main argument is that even though the 1997 Constitution and other principle bills have promulgated an aspiration to laid core values of local self-government into Thai local government system. However, the practices having been found in a day- to-day operation and working relationship revealed an actual status of relation that the central government, directly and indirectly, has an extensively control over local authorities through many kinds of method. The study has shown the divergence between a formal framework and working relationship. The former one has strongly presumed an important of ‘self-government’ as a basic philosophy for local government system by introducing the concept of ‘La Tutelle Administrative’ or administrative supervision. It has pretentiously set a proper balance between the central government control and principle of local autonomy. But in day-to-day operation, local authorities are highly manipulated and widely controlled by central government . They are treated as subordinate organizations under hierarchical structure of central bureaucracy. By various methods, local authorities have been ‘bureaucratized’ in their ways of practices and internal management. Also, under these relationships, it has increased the superior role of central government in which local authorities have unavoidably and largely to depend on. |
en |
dc.journal |
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.page |
87-123. |
|