DSpace Repository

โรคปรสิตและระบบภูมิคุ้มกันในหอยเศรษฐกิจที่เลี้ยงบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author สุพรรณี ลีโทชวลิต th
dc.contributor.author จันทร์จรัส วัฒนะโชติ th
dc.contributor.author นันทิกา คงเจริญพร th
dc.contributor.author นารีรัตน์ ฤทธิรุตน์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.available 2019-03-25T08:47:20Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/222
dc.description.abstract จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคปรสิตและระบบภูมิคุ้มกันในหอยเศรษฐกิจ 5 ชนิดได้แก่ หอยลาย (undulated surf clam, Paphia undulata), หอยนางรมปากจีบ (oyster, Saccostrea sp.), หอยแมลงภู่ (green mussel, Perna viridis), หอยแครง (blood cockle, Anadara granosa), และหอยตลับ (Venus shell, Meretrix casta) ที่เก็บจากชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรีของประเทศไทย ระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงเดือนกันยายน 2554 ในการสำรวจหาปรสิต Perkinsus ทำโดยวิธี Ray's Fluid Thioglycollate medium (RFTM) และศึกษาระบบภูมิคุ้มกันในเลือดของหอย 5 ชนิดได้แก่ ปริมาณของเม็ดเลือดหอย ปริมาณโปรตีน ปริมาณแลคติน และปริมาณไลโซไซม์ จากผลการสำรวจหาปรสิต Perkinsus ในหอยพบว่ามีหอยเพียง 2 ชนิดที่ติดเชื้อปรสิต โดยหอยลายและหอยนางรม พบเซลล์ปรสิตเฉลี่ย ตั้งแต่ 72 ถึง 207,536 และ376 ถึง 6,504เซลล์/ตัว และเมื่อตรวจหาระบบภูมิคุ้มกันในเลือดพบว่ามีความแตกต่างกันไปในหอยแต่ละชนิด โดยพบว่าหอยตลับมีปรืมาณเม็ดเลือดเฉลี่ยสูงสุด หอยลาย หอยนางรม และหอยแมลงภู่พบปริมาณเลือดใกล้เคียงกัน ส่วนในหอยแครงจะพบปริมาณโปรตีนและไลโซไซม์สูงสุด ในขณะที่หอยนางรมมีปริมาณเลค ตินมากที่สุด th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ผ่านงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2554 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทาง ทะเลมหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ระบบภูมิคุ้มกัน th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.subject หอย - - การเลี้ยง th_TH
dc.subject โรคเกิดจากปรสิต th_TH
dc.title โรคปรสิตและระบบภูมิคุ้มกันในหอยเศรษฐกิจที่เลี้ยงบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย th_TH
dc.title.alternative Parasites and immunity of marine shellfishes along the East Coast of Thailand th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative This study aimed to investigate a possible of correlation between the prevalence of parasite infection and the immune response of five bivalve: undulated surf clam (Paphia undulata), oyster (Saccostrea sp.), green mussel (Perna viridis), blood cockle (Anadara granosa), Venus shell (Meretrix casta). Animals were obtained form the coast of Chonburi Province, Thailand, all year round during October 2010 to Sebtember 2011. The Perkinsus infaction intensity was evaluated by Ray's Fluid Thioglycollate medlum (RFTM) method. Various immunological parameters were assessed in the hemolymph of the animals: total hemocyte counts, protein concentration, hemagglutinating titer (lectin) and lysozyme. The results showed that the Perkinsus was detected in undulated surf clam and oyster. Average infection intensity of the undulated surf clam and oyster varied from 72 to 207,536 and 376 to 6,504 cell/individual, respectively. The defense parameters showed the different among the five bivalve. The highest heamocyte density was detected in the Venus shell. While the heamocyte density in undulated surf clam oyster and green mussel gave the same density. The highest protein concentration and lysozyme was detected in blood cockle. While, the highest lectin was shown in oyster. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account