dc.contributor.author | อภิรักษ์ ชัยปัญหา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:45Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:45Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2199 | |
dc.description.abstract | ปัจจุบันเพลงไทยสากลที่ได้รับความนิยมจากกลุ่มผู้ฟังวัยรุ่น มีลักษณะสัมผัสภาษามากขึ้น กล่าวคือ มีการประพันธ์เนื้อร้องภาษาต่างประเทศร่วมกับเนื้อร้องภาไทย จากการศึกษาเพลงไทยสากลยอดนิยมที่ได้รับความนิยมสูงสุด ๑๐ อันดับแรกของสถานีวิทยุ ๒ สถานี ตั้งแต่เดือนมกราคม ๒๕๔๙ – มิถุนายน ๒๕๕๐ พบว่า มีเพลงที่มีการสัมผัสภาษาถึง ๔๗ เพลงภาษาที่ผู้ประพันธ์นำมาสัมผัสภาษามากที่สุด ได้แก่ ภาอังกฤษ รองลงมาคือภาษาเกาหลีและภาษาญี่ปุ่นตามลำดับ ตามลำดับ ลักษณะการสัมผัสภาษาที่ปรากฏในเนื้อร้องเพลงไทยสากลยอดนิยม ปรากฏ ๔ ลักษณะ ได้แก่ การยืมภาษา การปนภาษา และการแทรกแซงภาษา ปรากฏการณ์ดังกล่าวอาจเกิดจากปัจจัย ๔ ด้าน ได้แก่ กระแสโลกาภิวัตน์ การตลาด วัฒนธรรมประชานิยมของต่างประเทศ และความรู้ความก้าวหน้าทางวิทยาการต่างประเทศ การสัมผัสภาษาที่ปรากฏสะท้อนให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวของภาษาไทยในปัจจุบันในกลุ่มผู้ใช้ภาษาวัยรุ่น หน้าที่สำคัญของผู้สอนภาษาไทยจึงหน้าจะสอนให้วัยรุ่นคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางภาษา เพื่อให้วัยรุ่นไทยรู้เท่าทันและสามารถเลือกใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การแต่งเพลง | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย - - คำและวลีภาษาต่างประเทศ | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.subject | เพลง | th_TH |
dc.subject | เพลงไทยสากล | th_TH |
dc.title | การสัมผัสภาษาในเพลงไทยสากลยอดนิยม | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 23-24 | |
dc.volume | 15 | |
dc.year | 2550 | |
dc.description.abstractalternative | Nowadays, popular contemporary Thai songs among teenage audience visibly feature language contact. In other words, foreign and Thai words have been combined in song lyrics. According to a study of top 10 most popular contemporary Thai songs from 2 radio station, conducted from January 2006 to June 2007, 47 songs were found featuring language contact. English was the most commonly used by song writer, followed by the Korean and Japanese respectively. Such interchange, as appeared in the popular Thai song, could be categorized under 4 linguistic aspects namely borrowing, mixing, switching and interception. Probably, the phenomenon might have been attributable to 4 factors. These were the globalization, the marketing, the influence of foreign popular culture as well as the advanced knowledge and education from abroad. The appearing language contact has reflected a current movement of Thai language among the teenagers. Hence, it has been critical for Thai language teachers to guide the teenagers to think through an analytical process of language movement in order that they can keep abreast of and use the language that is accurate and fit in every circumstance. | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 185-207. |