dc.contributor.author | เรวัต แสงสุริยงค์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:45Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:45Z | |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2195 | |
dc.description.abstract | การวิจัยทางสังคมแบบวิทยาศาสตร์เป็นการค้นหาความรู้วีการหนึ่งที่ได้รับความนิยมในกลุ่มนักสังคมสงเคราะห์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีการในการวิเคราะห์หาเหตุผลโดยใช้หลักฐานที่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนและเป็นที่ยอมรับรับด้วยหลักตรรกะ ในความเป็นจริงอาจกล่าวได้ว่า วิธีการทางวิทยาศาสตร์คือ ตรรกะประยุกต์ (Applied Logic) ที่ถูกนำมาใช้อย่างได้ประสบผลสำเร็จในด้านวิทยาศาสตร์ และมีการนำไปใช้ในสาขาวิชาอื่น ๆ อย่างแพร่หลาย วิธีการศึกษาดังกล่าวจะทำให้ได้ความรู้ทางสังคมที่เป็นวัตถุวิสัย (Objective) ซึ่งจะทำให้รับความรู้ทางสังคมที่ปราศจากอิทธิพลของอภิปรัชญา (Metaphysical) อุดมการณ์ (Ideological) เทววิทยา (Religious) และค่านิยมทางศีลธรรม (Moral Values) แต่ก็มีข้อโต้แย้งว่า วิธีการทางวิทยาศาสตร์มองสิ่งที่ศึกษาไม่ว่าจะเป็นคนหรือวัตถุเป็นโลกของวัตถุ (Object) เหมือนกันหมด ซึ่งไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้กับโลกของปรากฏการณ์ทางสังคมที่เป็นสิ่งมีชีวิตจิตใจ (Subject) ที่ต้องให้ความสำคัญกับความคิดที่แตกต่างกันของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มคนในสังคม | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ตรรกวิทยา | th_TH |
dc.subject | ปฏิฐานนิยม | th_TH |
dc.subject | สังคมศาสตร์ - - วิจัย | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | แนวคิดปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ: รากฐานการวิจัยทางสังคมแบบวิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 23-24 | |
dc.volume | 15 | |
dc.year | 2550 | |
dc.description.abstractalternative | Social research refers to research that is conducted by social scientists. It is based on logic and empirical observations, In other world, it shows how to apply the logic to the field of science and other fields. Through this process, it leads to ‘objective’ knowledge of sociology without involving aspects of metaphysical, ideological, religious, and moral values. However, the scientific aspect purports that human beings and objects are the same. Thus, it may be inappropriate to apply this in a sociological context where the ‘subject’s’ importance is recognized through the difference in each individual and each group. | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 119-143. |