dc.contributor.author |
จิตสวาท ปาละสิงห์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:12:41Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:12:41Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2135 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ และภาพลักษณ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ในทัศนะ
ของประชาชนในจังหวัดชลบุรี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ แระชาชนทั่วไปในจังหวัดชลบุรี ที่มีอายุตั้งแต่ ๑๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๔๐๗ คน
โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะประชากรด้านอายุ ๐.๐๕ กลุ่มกลุ่มตัวอย่างที่ลักษณะประชากรด้านอายุ รายได้ และอาชีพที่แตกต่างกัน ส่งผลให้มีทัศนะต่อภาพลักษณ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ และการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพามีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางกับภาพลักษณ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในทัศนะของกลุ่มตัวอย่างในทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๐๑ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การประชาสัมพันธ์ |
th_TH |
dc.subject |
การเปิดรับข่าวสาร |
th_TH |
dc.subject |
ภาพลักษณ์องค์การ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
การเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์และภาพลักษณ์ของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาในทัศนะของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
33 |
|
dc.volume |
20 |
|
dc.year |
2555 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to investigate Chon Buri residents’ public relations media exposure and their attitudes towards the images of the Faculty of Humanities and Social Sciences (HuSo) of Burapha University. A survey research method was employed. Using a convenience sampling method, 407 Chon Buri residents aged at 15 years old over were chosen as the samples. A questionnaire was used to collect the data. The finding revealed that the samples; age and occupation played a significant role in influencing their degree of the HuSo public relations media exposure (p < .05). The samples’ age, incomes, and occupation played a significant role in predicting how they evaluated the HuSo images (p < .05). Finally, the HuSo public relations media exposure was positively correlated with the HuSo images (p < .001). |
en |
dc.journal |
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.page |
75-93. |
|