dc.contributor.author | จิตตาภา สารพัดนึก ไชยปัญญา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:12:40Z | |
dc.date.issued | 2548 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2131 | |
dc.description.abstract | ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตเป็นภาษาในตระกุลอินเดีย-ยุโรป (Indo-European) ซึ่งเป็นตระกูลภาษาที่มีวิภัตติปัจจัยตระกูลหนึ่ง ภาษาทั้งสองถือกำเนิดมาจากภาษาเดียวกันคือ ภาษาพระเวท แต่ภาษาทั้งสองก็มีพัฒนาการที่แตกต่างกันออกไป ด้วยเหตุนี้เองจึงทำให้ภาษาทั้งสองมีทั้งความคล้ายคลึงกันและความแตกต่างกันในบางส่วน ความคล้ายคลึงกันของภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น การแบ่งประเภทของคำศัพท์ในภาษา บุรุษสรรพนามและวิภักตินามเพศของคำ วิธีการสร้างคำ การประกอบรูปกริยา ตลอดจนการเรียงคำในประโยค ส่วนความแตกต่างของภาษาทั้งสอง เช่น จำนวนเสียงสระ จำนวนเสียงพยัญชนะ การันต์ วจนะ ธาตุ และวิภักติกริยา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | ภาษาบาลี | th_TH |
dc.subject | ภาษาสันสกฤต | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | บาลี - สันสกฤต : ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 19 | |
dc.volume | 13 | |
dc.year | 2548 | |
dc.description.abstractalternative | Pali and Sanskrit are languages in Indo-European family that have forms of languages which are gender, number, case, declension, etc. Both languages came from the languages called the Vedic languages but they had been developed in different ways. Both languages, therefore, have the same and different parts. Pali and Sanskrit have the same parts, viz. the classification of words, personal pronouns and cases, genders of words, forms of words, verb-forms and orders of words in the sentences. The different parts of them are number of vowels and consonants, case endings, numbers, roots of verbs and conjugation classes of verbs, etc. | en |
dc.journal | วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.page | 18-31. |