DSpace Repository

จรรยาบรรณ : การควบคุมกันเองที่ยังมีปัญหา

Show simple item record

dc.contributor.author สุกัญญา บูรณเดชาชัย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:40Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:40Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2128
dc.description.abstract จริยธรรมและจรรยาบรรณมีความต่อการทำงานในทุกอาชีพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่อมวลชน ซึ่งเป็นองค์กรธุรกิจและสถาบันสาธารณะ ผลที่เกิดขึ้นจากการนำเสนอข้อมูลข่าวสารของสื่อมวลขนที่มีอิทธิพลต่อประชาชนผู้นับสารนานัปการ ทั้งด้านบวกและด้านลบ ดังนั้นการประกอบวิชาชีพหนังสือพิมพ์ด้วยการใช้สิทธิและเสรีภาพตามหลักการในรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนจึงต้องมีขอบเขต นอกเหนือจากกระบวนการควบคุมทางกฎหมายเป็นมาตรการหนึ่งที่เป็นรูปธรรมอยู่แล้ว สื่อมวลชนเองยังไม่ได้จัดตั้งองค์กรวิชาชีพขึ้นมาควบคุมกันเอง โดยใช้หลักการพื้นฐานแห่งจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพเป็นข้อบังคับสำคัญ เพื่อไม่ให้สื่อมวลชนนำสิทธิและเสรีภาพเหล่านี้ไปละเมิดสิทธิและเสรีภาพผู้อื่น หรืออาจะกล่าวได้ว่าเป็นการละเมิดจริยธรรมวิชาชะของสื่อมวลชนนั่นเอง สภาการหนังสือแห่งชาติเป็นองค์กรหลักควบคุมทางจริยธรรม ที่จัดตั้งขึ้นมาได้เกือบทศวรรษแล้ว และปฏิบัติหน้าที่ตามธรรมนูญสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติหลายประการ แต่การควบคุมกันเองโดยสภาการหนังสือพิมพ์ฯกลับมีข้อกังขาและถูกจับตามองจากประชาสังคมว่า การทำหน้าที่ของสื่อมวลชนยังตั้งอยู่บนพื้นฐานความละเมิดอยู่บ่อยครั้ง และบทบาทของสภาหนังสือพิมพ์ฯ ในการดำเนินการนั้นเป็นรูปธรรมชัดเจนเพียงพอน่าเชื่อถือหรือไม่ จากข้อมูลการศึกษา ค้นคว้า รวบรวม วิจัย รวมทั้งสถิตการเรียกร้องของสภาการหนังสือพิมพ์ฯเอง เป็นสิ่งหนึ่งที่สนับสนุนสมญานาม “เสือกระดาษ” ของสภากาหนังสือพิมพ์ฯได้เป็นอย่างดี เพราะในแต่ละปีหนังสือพิมพ์ได้ทำหน้าที่ตามหลักการของปรัชญาวิชาชีพจนละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่นอยู่เสมอ ตั้งแต่กรณีเล็กๆ ที่ผู้เสียหายไม่ร้องเรียน จนถึงเหตุการณ์ใหญ่โตเช่น “คดีวีซีดีไฮโซ” ก็มีมาแล้ว ดังนั้น การที่จะทำให้หลักการควบคุมกันเองนี้เป็นจริงได้ ทุกฝ่ายต้องร่วมกันแก้ปัญหาอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายผู้ประกอบการวิชาชีพ สภาการหนังสือพิมพ์ฯ ประชาชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาด้านสื่อมวลชนต้องปลูกฝังจริยธรรมในวิชาชีพให้แก่ผู้ศึกษาเพื่อก้าวสู่ความเป็นผู้ปฏิบัติงานโดยมีจรรยาวิชาชีพต่อไป th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject จรรยาบรรณนักหนังสือพิมพ์ th_TH
dc.subject จรรยาบรรณสื่อมวลชน th_TH
dc.subject จริยธรรม th_TH
dc.subject สื่อมวลชน th_TH
dc.subject สื่อมวลชน - - แง่ศีลธรรมจรรยา th_TH
dc.subject สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ th_TH
dc.title จรรยาบรรณ : การควบคุมกันเองที่ยังมีปัญหา th_TH
dc.title.alternative Etiquette: A doubtful control
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 22
dc.volume 14
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative Ethics and etiquette is a need for every career and especially in the field of communication – mass media, which are both a business organization and a public institute. As new and information of mass media can influence people – the receivers, in both positive and negative ways, the rights and freedom of press assigned in the constitution of people must have a limitation. Not only is there a legal controlling action, also there is a foundation of an organization to control mass media itself by using a basis of ethics and professional etiquette as a main regulation to restrain mass media not to use its tight and freedom to violate other people’s right and liberty, or , in other word, to restrain mass media itself not to infringe on its own professional etiquette and ethics. The National Journalistic Council is the main organization established to control ethics and professional etiquette and to follow the council’s code of law ; however, people are still doubtful about mass media performing – why is it still working on the Basis of infringement? Is the National Journalistic Council working as concrete, clear, and trustworthy?, because, in each year, many journalists follow the principle of the professional philosophy bur people’s right and freedom are still violated. Therefore, if every involving department and every body works and solves this problem together, ethic and etiquette self – control can be applicable. Also, it is a great task for journalists, the National Journalistic Council, people, and mass media education institutes to inculcate morality and professional etiquette into mass media learners to be a good journalist with professional morality in the future. en
dc.journal วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page 1-20.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account