dc.contributor.author |
วิษณุ บุญมารัตน์ |
|
dc.contributor.author |
รัตพงษ์ สอนสุภาพ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:12:40Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:12:40Z |
|
dc.date.issued |
2545 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2123 |
|
dc.description.abstract |
พันตำรวจโท ดร.ทักษิน ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้กล่าวสุนทรพจน์ ณ ที่ประชุมฟอร์จูน โกลบอล ฟอรั่ม ฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี พ.ศ.2544 ว่า ประเทศไทยได้กลายเป็นประเทศแรกในเอเชียที่ปฏิเสธโครงสร้างเศรษฐกิจแบบเดิมของเอเชียตะวันออก ซึ่งเน้นการขยายแรงงานราคาถูกสำหรับการผลิตในอุตสาหกรรมต่างๆ (มติชน, 23 พ.ค. 2544) สะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยในอดีตการพัฒนาเศรษฐกิจด้วยการขายแรงงานราคาถูก (Cheap Labour) ดังนั้น ผู้เขียนจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่องนี้ บทความชิ้นนี้จะชี้ให้เห็นถึงการควบคุมแรงงานเพื่อให้มีราคาถูกในการพัฒนาเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นประเทศในกลุ่มเอเชีย เช่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ หรือกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา เช่น บราซิล รวมทั้งกรณีของประเทศไทยในช่วง พ.ศ.2500-2516 เป็นช่วงที่ประเทศไทยมีระบบการเมืองแบบปิด หรือระบบการรวมศูนย์อำนาจ (จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร ที่มีการควบคุมค่าแรงเพื่อให้แรงงานราคาถูกในการจูงใจการลงทุนของต่างชาติเช่น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น โดยมีมาตรการในการควบคุมแรงงานหลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่น ประกาศคณะปฏิวัติ และการครอบงำทางอุดมการณ์เป็นต้น |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การพัฒนาประเทศ - - ไทย |
th_TH |
dc.subject |
การพัฒนาเศรษฐกิจ - - ไทย |
th_TH |
dc.subject |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
แรงงาน - - แง่เศรษฐกิจ - - ไทย |
th_TH |
dc.subject |
แรงงาน |
th_TH |
dc.title |
ยุทธศาสตร์การสะสมทุนด้วยการควบคุมแรงงานในประเทศไทย พ.ศ. 2500-2516 |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
1 |
|
dc.volume |
50 |
|
dc.year |
2545 |
|
dc.journal |
รัฐสภาสาร |
|
dc.page |
78-117. |
|