DSpace Repository

การเปลี่ยนแปลงอุทกวิทยาลุ่มน้ำจากโครงการขุดคลองไทยเส้นทาง ๙A

Show simple item record

dc.contributor.author บุญเชิด หนูอิ่ม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:39Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:39Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2116
dc.description.abstract การเปลี่ยนแปลงอุทกวิทยาลุ่มน้ำจากโครงการชุดคลองไทยเส้นทาง ๙A เป็นการคาดการณ์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อระบบอุทกวิทยาลุ่มน้ำฝั่งทะเลอันดามัน และลุ่มน้ำฝั่งอ่าวไทย โดยนำแบบจำลอง SWAT MODEL มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์อุทกวิทยาลุ่มน้ำ ทั้งนี้ได้มีการปรับเทียบข้อมูลจากแบบจำลอง SWAT MODEL กับข้อมูลอัตราการไหลของน้ำจากสถานีวัดน้ำท่าในข่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๔๙ จำนวน ๒ สถานี X๖๘ อยู่ในพื้นที่คลองท่าแค สถานีบ้านท่าแค อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง มีค่าความสัมพันธ์ เท่ากับ ๐.๖๒๕ และสถานี X๑๙๕ อยู่ในพื้นที่แม่น้ำตาปี สถานีบ้านต้นโพธิ์ อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีค่าความสัมพันธ์ เท่ากับ ๐.๖๗ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ ผลการศึกษาพบว่า อุทกวิทยาลุ่มน้ำฝั่งทะเลอันดามัน ก่อนมีโครงการขุดคลองไทยอัตราการไหลของน้ำท่าเฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๐ – ๒๕๕๐ เท่ากับ ๘๖๐๑ ลบ.ม.ต่อวินาที และกรณีที่มีโครงการขุดคลองไทยอัตราการไหลของน้ำท่าเฉลี่ย เท่ากับ ๕๒.๙๒ ลบ.ม.วินาที ทำให้อัตราการไหลของน้ำท่าเฉลี่ยลดลงเท่ากับ ๓๓.๐๙ ลบ.ม.ต่อวินาที สำหรับอุทกวิทยาลุ่มน้ำฝั่งทะเลอ่าวไทยก่อนมีโครงการขุดคลองไทย อัตราการไหลของน้ำท่าเฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๐ – ๒๕๕๐ เท่ากับ๑๙๗.๔๙ ลบ.ม.ต่อวินาที และกรณีที่มีโครงการขุดคลองไทย อัตราการไหลของน้ำท่าเฉลี่ย เท่ากับ ๙๖.๓๗ ลบ.ม.ต่อวินาที ทำให้อัตราการไหลของน้ำท่าเฉลี่ยลดลงเท่ากับ ๑๐๑.๑๒ ลบ.ม.ต่อวินาที สรุปได้ว่า โครงการขุดคลองไทยเส้นทาง ๙A จะมีผลต่อการลดลงของอัตราการไหลของน้ำท่าเฉลี่ยอย่างมีนัยสำคัญ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การจัดการลุ่มน้ำ th_TH
dc.subject การพัฒนาลุ่มน้ำ th_TH
dc.subject ลุ่มน้ำ th_TH
dc.subject อุทกวิทยา th_TH
dc.title การเปลี่ยนแปลงอุทกวิทยาลุ่มน้ำจากโครงการขุดคลองไทยเส้นทาง ๙A th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 33
dc.volume 20
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative Changes in hydrology of the watershed of the Thai Canal Route 9A to predicted the effects that will occur to the hydrologic basin, the Andaman Sea and Gulf of Thailand basin. SWAT MODEL have been applied in the analysis of watershed hydrology. According to information from the model SWAT MODEL is calibrated with runoff from in the year 2544-2555. The number of two terminal stations the area of Klong Tha Canon X68 (R=0.635) and X195 (R=0.60) in the area of the river Tapi has been found to correlate significantly. Before the Thai Canal project, The results showed that the hydrological basin of the Andaman Sea before the Thai Canal project, the average runoff from the year 2540-2500 was 86.01 cubic meters per second. If the Thai Canal project is launched, the average runoff would be 52.59 cubic meters per second. The effect of the Thai Canal project may cause the average runoff decline of 33.09 cubic meters per second. For watershed hydrology, Before the Thai Cana project the Gulf of Thailand, the average runoff from the year 2540-2550 was 197.49 cubic meters per second. If the Thai Cana project is Launched, the average runoff would be 96.37 cubic meters per second. The effect of the Thai Cana project may cause the average runoff decline of 101.12 cubic meters per second. In conclusion , the Thai Cana project to will show the significant different in the decline of the average runoff en
dc.page 95-108.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account