DSpace Repository

การนำเสนอแบบศึกษาบันเทิงในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทย

Show simple item record

dc.contributor.author อภิรักษ์ ชัยปัญหา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:39Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:39Z
dc.date.issued 2549
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2115
dc.description.abstract การนำเสนอแบบศึกษาบันเทิงในนวนิยายอิงประวัตศาสตร์ไทยร่วมสมัย เกิดจากสาเหตุสำคัญอย่างน้อย ๒ ประการ คือ ลักษณะเฉพาะของนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ และบทบาทของผู้อ่าน ได้แก่ บทบาทผู้ที่อ่านบางส่วนเชื่อ "ความจริง" ในนวนิยายอ้างอิงทางประวัติศาสตร์มากเกินไป และบทบาทของผู้อ่านมุ่งวิเคราะห์วิจารณ์ บทบาททั้งสองได้ส่งผลให้เกิดค่านิยมให้นวนิยายอิงประวัติษสตร์ต้องทำหน้าที่ให้ความบันเทิงและให้ความรุ็ทางประวัติศาสตร์อย่างถูกต้องควบคู่กัน ผู้สร้างสรรค์ ได้แก่ ผู้ประพันธ์และสำนักพิมพ์ในฐานะผู้เผยแพร่ จึงนำกลวิธีการนำเสนอแบบศึกาาบันเทิงมาใช้ในลักษณะต่างๆ เช่น การชี้แจงของผู้เขียนผ่านคำนำ การนำวิธีการเขียนเอกสารวิชาการมาใช้ เช่น การเขียนเชิงอรรถ การเขียนบรรณานุกรม การใช้ภาพประกอบ การคัดข้อมูลประวัติศาสตร์จากหลักฐานปฐมภูมิและการนำบทวิจารณ์มาพิมพ์ในเล่ม การนำเสนอแบบศึกษาบันเทิงดังกล่าวช่วยให้นวนิยายอิงประวัติศาสตร์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น แต่อาจมีผลข้างเคียงคืออาจทำให้คุณค่าด้านความบันเทิงลดลงบ้าง ผู้สร้างสรรค์จึงควรคำนึงถึงการรักษาคุณค่าทั้งสองประการของนวนิยายประเภทนี้อย่างสมดุล th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การแต่งนวนิยาย th_TH
dc.subject นวนิยาย th_TH
dc.subject นวนิยายประวัติศาสตร์ไทย th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title การนำเสนอแบบศึกษาบันเทิงในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ไทย th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 20
dc.volume 14
dc.year 2549
dc.description.abstractalternative The edutainment aspect in the contemporary Thai historical novel derives from two sources. First, it comes from the nature of the historical novel itself. Second, it emerges through the role of the reader. Some readers literally hold on to the "truth" in the historical based novel while others aim at analyzing the novel. Both sources create changes in the principle o the historical novel which bears the double burdens of entertaining and delivering the accurate historical information. The creators, including the author and the publisher who plays the role of the promoter, need to use employ the edutainment strategies. These strategies are; such as, the author personal notes in the book introduction; the academic writing style with footnote and bibliography; the use of illustration; the attachment the historical evidences from the primary source; and the incorporation of the criticism articles in the publication. This type of edutainment presentation increases the credibility of the historical novel. However, the side effect is the risk of decreasing its entertainment value. Thus the creators must find a balance in order to preserve both functions of this kind of novel. en
dc.journal วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.page 1-17.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account