DSpace Repository

การจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในภาคตะวันออก: การพัฒนาความสามารถด้านภาษาและการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

Show simple item record

dc.contributor.author ปริญญา ทองสอน th
dc.contributor.author ฉลอง ทับศรี th
dc.contributor.author ณัฐนุช สคัล th
dc.contributor.author ชาย หาญณรงค์ th
dc.contributor.author พิมพ์สุพร สุนทรินทร์ th
dc.contributor.author ขวัญจิต คัมภิรานนท์ th
dc.contributor.author จรรยา ชาญสมุทร th
dc.contributor.author ธนาวัฒน์ ทองวิชิต th
dc.contributor.author จิรนุช ขาวเมืองน้อย th
dc.contributor.author กสินธ์ ป้อมเกิดแสง th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:58Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:58Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/208
dc.description.abstract การศึกษาเรื่องการจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในภาคตะวันออก การพัฒนาความสามารถด้านภาษาและการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกและเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออก ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนรวม โดยทำการรวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ผลการจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในภาคตะวันออก พบว่า 1. กิจกรรมการท่องเที่ยงเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก มีกิจกรรมที่หลากหลายกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ, กิจกรรมถ่ายรูปธรรมชาติ, บันทึกเทปวีดีโอ,กิจกรรมส่อง/ ดูนก, กิจกรรมศึกษาท้องฟ้าและดาราศาสตร์, กิจกรรมล่องเรือศึกษาธรรมชาติ, กิจกรรมพายเรือแคนู/ เรือคายัค, กิจกรรมดำน้ำชมปะการังน้ำตื้น กิจกรรมขี่จักรยานตามเส้นทางธรรมชาติ, กิจกรรมพักแรมด้วยเต็นท์, และทุกกิจกรรมได้สรางความตระหนักต่อสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ดังกล่าว 2. นำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปจัดทำเว็บไซต์เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออกและกิจกรรมที่มีในแหล่งท่องเที่ยวดังกล่าว โดยเว็บไซต์ดังกล่าวคือ www.sea3.web.officelive.com ข้อเสนอแนะด้านการวิจัย คือ การติดตามประเมินผลการศึกษาข้อมูลจากเว็บไซต์โดยศึกษาถึงความพึงพอใจของผู้ใช้บริการข้อมูลจากเว็บไซต์แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออกที่ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลขึ้นมา The study of knowledge management for ecotourism in the East: The language development and Ecotourism Management. Aims to study for Activity in Ecotourism at provincein East and study how to set Activity in Ecotourism that the research is participatory action search (PAR), the Data of activity in Ecotourism at the East. The study found that: 1. activity in Ecotourism at the East have many activity etc nature education, nature photography video taping, bird watching, sky interpretation, boat sightseeing canoeing and kayak, snorkel skin diving, terrain/mountain biking, tent camping 2. The Knowledge Management in Ecotourism in the East to set the website is www.sea3.web.officelive.com The suggestion for further research is evaluation the data form website of the certificate of who use the data of Ecotourism in East. th_TH
dc.description.sponsorship ทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานรากผ่านเครือข่ายวิจัยและนวัตกรรม และเครือข่ายเพื่อพัฒนาภาคตะวันออก ประจำปีงบประมาณ 2552 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การจัดการความรู้ th_TH
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในภาคตะวันออก: การพัฒนาความสามารถด้านภาษาและการจัดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ th_TH
dc.title.alternative Knowledge management for ecotourism in the east : The lanuage development and ecotourism management en
dc.type Research th_TH
dc.year 2552


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account