DSpace Repository

แนวทางการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ในบริเวณแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นทะเลชายหาดในภาคตะวันออกของประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ชิตาพร พิศลยบุตร โต๊ะวิเศษกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:12:38Z
dc.date.available 2019-03-25T09:12:38Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2084
dc.description.abstract พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 บัญญัติขึ้นเพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ มีการนิยามให้ความหมายของคำว่า "สถานที่สาธารธณะ หมายถึง สถานที่หรือยานพาหนะใดๆ ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้" และพระราชบัญญัติฉบับนี้ได้ให้อำนาจรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนดชื่อหรือประเภทของสถานที่สาธารณสุขฉบับที่ (17) พ.ศ.2549 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (18) พ.ศ. 2550 กำหนดให้ ลิฟต์โดยสาร สุขา สนามเด็กเล่น มหาวิทยาลัย หรือสถานบันการศึกษาตั้งแต่ระดับอุดมศึกษาขึ้นไป สวนสัตว์ ตลาด ฯลฯ เป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับการคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ บริเวศแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นชายหาดไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย พระราชบัญญัติฉบับนี้เพราะไม้ได้ถูกกำหนดให้เป็นสถานที่สาารณะตามพระราชบัญญัติ งานวิจัยนี้เสนอว่า ควรมีแนวทางการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่บริเวณแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นชายหาด เพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพดีต่อสุขภาพ หายใจด้วยอากาศที่บริสุทธิ์ไม่รบกวนด้วยสารพิษจากควันบุหรี่ จากการศึกษาวืจัยพบว่าการสูบบุหรี่ในบรืเวณแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นทะเลชายหาดแม้ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพร้ายแรงแต่ก็เป็นปัญหาต่อภัยคุกคามต่อสุขภาพของผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ และก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ขึ้นเช่น เศษขยะจากก้นบุหรี่ อันตรายต่อผู้ใกล้ชิด การเป็นตัวอย่างที่ไม่ดีต่อบุตรหลานที่ไปท่องเที่ยวด้วยกัน การสร้างความรู้สึกที่ไม่มีความสุขในการท่องเที่ยว ในการแก้ปัญหาหรือลดปัญหาเหล่านี้ ควรมีประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดให้มีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นชายหาด เป็นสถานที่สาธารณะตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ และควรกำหนดส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของสถานที่ให้เป็นเขตปลอดภัย th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject การบังคับใช้กฎหมาย th_TH
dc.subject การสูบบุหรี่ th_TH
dc.subject คนไม่สูบบุหรี่ th_TH
dc.subject เขตปลอดบุหรี่ th_TH
dc.subject สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ th_TH
dc.title แนวทางการบังคับใช้กฎหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ในบริเวณแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นทะเลชายหาดในภาคตะวันออกของประเทศไทย th_TH
dc.type บทความวารสาร th_TH
dc.issue 2
dc.volume 3
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative Non-Smoker's Health Protection Act, B.E. 2535 (1992) is enacted to protect the health of non-smokers on public place. According to this Act, the term "public place" means any place or vehicle where the public is entitled to enter. This Act empower the Minister of Public Health Announcement (No.17) B.E.2006, the Ministry of Public Health Announcement (No.18) B.E.2007 designating passenger elevators, toilets, playgrounds , universities or educational institutions at the higher education level upwards, zoos, markets etc. ac public places protecting the health of non-smokers. The beach areas of tourist attraction are protected by this Act because these areas are not designated as public places. This research suggests that the law enforcement guideline should be found to protect the health of non-smokers in the beach areas of tourist attractions and to protect the fundamental rights of individuals seeking environment of good quality, good health and for the individuals to breath fresh air which is not disturbed by toxic element from cigarette smoke. The research found that even smoking in the beach areas of tourist attractions does not cause serious health hazard to the health of non smokers, smoking in those areas cause problems, such as cigarette butt waste, health hazards for close ones, setting bad examples for children who travel together, spoiling of Public of travelling, causing nuisance for tourists. The Ministry of Public Health Announcement should me made to define beaches as public places in order to solve or lessen the problems. Under this proposed Announcement some parts or all parts of beach areas should be designated as non-smoking area. en
dc.journal วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย
dc.page 211-240.


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account