dc.contributor.author |
ภัทรมน สาตรักษ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:12:37Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:12:37Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2069 |
|
dc.description.abstract |
สหาภาพยุโรปเป็นองค์กรระดับภูมิภาคต้นแบบที่มีความก้าวหน้า และประสบความสำเร็จมากที่สุดในการกำหนดนโยบาย และมาตรการทางกฎหมายในเรื่องของการจ้างแรงงานมาใช้บังคับภายในภูมิภาคของตน สหภาพยุโรปมีลักษณะองค์กรเหนือรัฐ(Supranational) ที่ประเทศสมาชิกตกลงยินยอมถ่ายโอนอำนาจอธิปไตยบางส่วนให้กับองค์กรกลางของประชาคม โดยอำนาจพื้นฐานของประชาคมมีกฎหมายออกมารองรับในรูปแบบของสนธิสัญญา รวมถึงมาตรการทางกฎหมายในรูปแบบของกำหนดข้อบังคับ (Directives) ระเบียบ (Regulations) บทบาทในการริเริ่มออกนโยบายและมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการจ้างแรงงานของสหภาพยุโรป มิได้จำกัดอยู่เฉพาะรัฐกับองค์กรกลางของสหภาพยุโรปเท่านั้น สหภาพยุโรปได้กำหนดรูปแบบที่ส่งเสริมความร่วมมือมากขึ้นโดยให้ความสำคัญกับหุ้นส่วนทางสังคมในการกำหนดทิศทาง รูปแบบที่เหมาะสมผ่านการเจรจาทางสังคม (Social Dialogue) เรียกว่า "Open Method Coordination" บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลกระทบของการขยายสมาชิกภาพต่อมาตรการทางกฎหมายในขอบเขตจำกัดเฉพาะเรื่องการจ้างแรงงานในสหภาพยุโรป โดยให้ความสำคัญกับประเด็นของการขยายสมาชิกภาพในช่วง ค.ศ.2004 และ ค.ศ.2007 ที่รับประเทศในยุโรปกลาง และยุโรปตะวันออกเข้ามาเป็นสมาชิกบนพื้นฐานของความแตกต่างเรื่องโครงสร้างทางเศรษฐกิจภายในของประเทศสมาชิกใหม่อันส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงานที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ดังนั้น การปรับตัวเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงในการกำหนดนโยบายและมาตรการทางกฎหมายที่มีความยืดหยุ่นและสร้างความมั่นคงในตลาดแรงงานภายในภูมิภาคจึงมีความจำเป็นเพื่อกำจัดข้อจำกัดต่างๆที่เกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการส่งเสริมให้เกิดการจ้างแรงงานในระดับสูง การฝึกทักษะในการทำงานให้กับแรงงาน รวมถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อลดอัตราการตกงานในระยะยาว และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานภายในภูมิภาคได้อย่างแท้จริง |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.subject |
การจ้งงาน - - สหภาพยุโรป |
th_TH |
dc.subject |
นโยบายแรงงาน - - สหภาพยุโรป |
th_TH |
dc.subject |
สนธิสัญญาอัมสเตอร์ดัม |
th_TH |
dc.subject |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
แรงงาน |
th_TH |
dc.title |
ผลกระทบจากมาตรการทางกฎหมายต่อนโยบายการจ้างแรงงานของสหภาพยุโรป: ความท้าทายจากการขยายสมาชิกภาพ |
th_TH |
dc.type |
บทความวารสาร |
th_TH |
dc.issue |
3 |
|
dc.volume |
4 |
|
dc.year |
2555 |
|
dc.description.abstractalternative |
European Union is a regional role model organization of the most progressive and the most successful in social policy regulations and legal measures applicable though out is region. The European Union operational system is supranational which means member states tranfer some of their sovereign powers to the central organs of the Union. The fundamental power of the union is derived from legal regulations in the forms of treaty including with other legal regulations in the foms of directive and regulation. Moreover, the right to initiative employment policy and legal measures on employment is not only limited between member states and central organs of the Union but also provides cooperative method with relevant social partners throught the social dialogue called "Open Method Coordination" The artical has the objective to study some implications from enlargement to legal measures focusing on employment in the European Union particularly the issue of enlargement in the year 2004 and the year 2007 respectively. During this period, the European Union accepted new members from Central and Eastern European countries through the accession process. From this action, it shall directly affect the improvement of human resources into expanding labor market. Therefore, the adjustment both policy and legal regulations in order to create labor security and more flexbility at regional labor market is necessary. The aim of reforming policies and legal regulation is to abolish any remaining internal restrictions. The promotion of growth employment, labor skill training as well as lifelong lerning are progressing in all Europen Union member states in order to eliminate long-term unemployment and to respond to regional labor market. |
en |
dc.journal |
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย |
|
dc.page |
57-86. |
|