DSpace Repository

ค่าคลอไรด์วิกฤตของคอนกรีตที่ผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดและผงหินปูน

Show simple item record

dc.contributor.author ทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.available 2019-03-25T09:10:04Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2004
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลกระทบของตะกรันเตาถลุงเหล็กบดและผงหินปูนต่อค่าคลอไรด์ วิกฤตของคอนกรีต ทําการทดสอบค่าปริมาณคลอไรด์วิกฤตของคอนกรีตและระยะเวลาการเริ่มเกิด สนิมของเหล็กเสริม ใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.40 และ 0.50 อัตราส่วนแทนที่วัสดุ ประสานด้วยตะกรันเตาถลุงเหล็กบดที่ร้อยละ 20 ถึง 70 อัตราส่วนแทนที่วัสดุประสานด้วยผง หินปูนที่ร้อยละ 5 ถึง 15 จากผลการศึกษาพบว่า ปริมาณคลอไรด์ทั้งหมดวิกฤตของคอนกรีตผสมตะกรันเตาถลุง เหล็กบดมีค่าลดลงแต่ระยะเวลาการเริ่มเกิดสนิมนานขึ้นเมื่อร้อยละแทนที่วัสดุประสานด้วยตะกรัน เตาถลุงเหล็กบดสูงขึ้น ค่าปริมาณคลอไรด์ทั้งหมดวิกฤตของคอนกรีตผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบด และผงหินปูนมีค่าสูงกว่าคอนกรีตซีเมนต์ล้วน ยกเว้นคอนกรีตที่ผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดที่ร้อยละ 50 และผงหินปูนถึงร้อยละ 15 แต่ระยะเวลาการเริ่มเกิดสนิมของเหล็กเสริมนานกว่าในคอนกรีตซีเมนต์ล้วน th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเงินแผ่นดิน) ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2558
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คอนกรีตเสริมเหล็ก th_TH
dc.subject เกลือคลอไรด์ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title ค่าคลอไรด์วิกฤตของคอนกรีตที่ผสมตะกรันเตาถลุงเหล็กบดและผงหินปูน th_TH
dc.title.alternative Threshold chloride value of concrete containing ground granulated blast-furnace slag and limestone powder en
dc.type Research
dc.year 2560
dc.description.abstractalternative This research aims to study the effect of ground granulated blast furnace slag (GGBFS) and limestone powder (LP) on threshold chloride content value of concrete. The threshold chloride content of concrete and depassivation time of steel were also conducted. The water to binder ratios of 0.40 and 0.50 were used. GGBFS and LP were used as cement replacing materials at the ratios of 20% to 70% and 5% to 15%, respectively. From the experimental results, it was found that the total threshold chloride content decreased and the depassivation times of concrete increased with the increasing of GGBFS content. The total threshold chloride content of concrete with GGBFS and LP was higher than that of cement concrete, except for the concrete containing 50% of GGBFS and LP up to 15%. The depassivation time of concrete with GGBFS and LP was higher than that of cement concrete en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account