DSpace Repository

การศึกษาผลของปริมาณอินทรียวัตถุที่สะสมอยู่ในดินตะกอนทะเลที่ขุดลอกบริเวณท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ต่อค่าพิกัดข้นแหลวและคุณสมบัติพลาสติก

Show simple item record

dc.contributor.author วรรณวรางค์ รัตนานิคม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:10:02Z
dc.date.available 2019-03-25T09:10:02Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1987
dc.description.abstract อินทรียวัตถุ คือองค์ประกอบหนึ่งในดินที่เกิดจากการย่อยสลายผุพังของซากอินทรีย์ทั้งโดยกระบวนการย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์และปฏิกริยาทางเคมี ปริมาณอินทรียวัตถุที่ปะปนอยู่ในมวลดินถือเป็นสิ่งที่ไม่พึงประสงค์และส่งผลเสียต่อคุณสมบัติด้านการรับกำลังของดินและอาจมีแนวโน้มทาให้ค่าคุณสมบัติทางกายภาพและดัชนีพื้นฐานอื่นๆของดินเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น ค่าพิกัดแอตเตอร์เบิกและค่าดัชนีพลาสติกของดิน ซึ่งถือเป็นดัชนีที่มีความสำคัญในการจำแนกหมวดหมู่และสามารถบ่งชี้คุณสมบัติทางด้านวิศวกรรมอื่น ๆ ของดินได้ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของปริมาณอินทรียวัตถุที่สะสมอยู่ในดินตะกอนทะเลที่ถูกขุดลอกมาจากบริเวณท่าเรือแหลมฉบัง อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ต่อค่าพิกัดแอตเตอร์เบิก ได้แก่ ค่าพิกัดเหลว ค่าพิกัดพลาสติกและค่าดัชนีพลาสติก ตัวอย่างดินตะกอนทะเลที่ใช้ในการทดสอบมี 3 ชนิดคือ ตัวอย่างดินตะกอนทะเลธรรมชาติ ตัวอย่างดินตะกอนทะเลที่ถูกทำความสะอาดโดยการแช่น้ากลั่น และตัวอย่างดินตะกอนทะเลที่ถูกทำความสะอาดโดยการแช่สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ค่าพิกัดเหลวถูกทดสอบโดยใช้สองวิธี คือ วิธีถ้วยคาซาเกนดีและเครื่องมือกรวยตก นอกจากนั้นค่าพิกัดพลาสติกถูกทดสอบโดยวิธีการคลึงและเครื่องมือกรวยตกเพื่อเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของผลการทดสอบและความแม่นยาของเครื่องมือทดสอบด้วย Organic matter is a soil composition resulting from a process of microbial degradation and chemical reaction. It is well known that the amount of organic matter in soil mass is an undesirable element in geotechnical engineering works because it is an important factor affecting on the strength behavior of soil. Moreover organic matter might affect the physical and index properties such as consistency limits and plasticity behavior. The objectives of this research were to study the effects of organic matter on Atterberg limit, i.e. liquid limit, plastic limit and plasticity index; of dredged marine sediments from Laemchabang Port, Sriracha, Chonburi. Three types of soil specimens were prepared, i.e. natural dredged marine sediments, dredged marine sediments soaked in distilled water, and dredged marine sediments soaked in hydrogen peroxide. Liquid limits were determined by Casagrande’s cup method and fall cone method. Plastic limits were determined by rolling method and fall cone method in order to compare of two tests results and accuracy and precision of these techniques. th_TH
dc.description.sponsorship โครงงานวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คุณสมบัติพลาสติก th_TH
dc.subject ดินตะกอนทะเล th_TH
dc.subject พิกัดแอตเตอร์เบิก th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.subject อินทรียวัตถุ th_TH
dc.title การศึกษาผลของปริมาณอินทรียวัตถุที่สะสมอยู่ในดินตะกอนทะเลที่ขุดลอกบริเวณท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ต่อค่าพิกัดข้นแหลวและคุณสมบัติพลาสติก th_TH
dc.title.alternative Influence of organic matter on consistency limits and plasticity behavior of marine dredged sediments from Laemchabang harbour, Chonburi th_TH
dc.type Research en
dc.year 2559


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account