dc.contributor.author |
อรวรีย์ อิงคเตชะ |
|
dc.contributor.author |
จิรภา น้าคณาคุปต์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:10:01Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:10:01Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1971 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะความโค้งของฝ่าเท้าในเด็กไทย เขตภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กอายุระหว่าง 5-16 ปี ที่ศึกษาอยู่ในภาคตะวันออก จำแนกเป็น เพศชาย จำนวน 1,254 คน คิดเป็นร้อยละ 45.8 และเป็นเพศหญิง จำนวน 1,484 คน คิดเป็นร้อยละ 54.2 ดำเนินการวัดโครงสร้างของเท้าด้วยวิธีการ วัดดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าในท่านั่ง และท่ายืนโดยใช้เครื่องวัดดัชนีของโค้งเท้าทำการวัดระยะความสูงของหลังเท้า ความยาวของเท้าและความยาวเท้าที่ไม่รวมนิ้วเท้า นำข้อมูลที่วัดได้มาคำนวณค่าดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้า และวัดรอยพิมพ์เท้าโดยถ่ายภาพรอยพิมพ์เท้า นาข้อมูลที่ได้ คานวณพื้นที่ใต้เท้าเป็นค่าดัชนีความโค้งของฝ่าเท้า มาดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่าเด็กในภาคตะวันออกมีค่าดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าด้านซ้ายในท่านั่ง (ลงน้ำหนักร้อยละ 10 ของน้ำหนักตัว) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ .3419 +- 0.0325 ดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าด้านซ้ายในท่ายืนสองเท้า (ลงน้ำหนักร้อยละ 50 ของน้ำหนักตัว) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ .3122 +- 0.0415 และดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าด้านซ้ายในท่ายืนเท้าเดียว (ลงน้ำหนักร้อยละ 90 ของน้ำหนักตัว) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ .3010 +- 0.0635 และดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าด้านขวาในท่านั่ง (ลงน้ำหนักร้อยละ 10 ของน้ำหนักตัว) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ .3468 +-0.0349 ดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าด้านขวาในท่ายืนสองเท้า (ลงน้ำหนักร้อยละ 50 ของน้ำหนักตัว) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ .3174 +-0.1254 และดัชนีความสูงของโค้งฝ่าเท้าด้านขวาในท่ายืนเท้าเดียว (ลงน้ำหนักร้อยละ 90 ของน้ำหนักตัว) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ .3090 +- 0.0613 ค่าเฉลี่ยของรอยพิมพ์ฝ่าเท้าของเด็กในภาคตะวันออกทั้ง 2 ด้านอยู่ในลักษณะปกติ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความโค้งฝ่าเท้า |
th_TH |
dc.subject |
ระบาดวิทยา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
โครงการสำรวจทางระบาดวิทยาของลักษณะความโค้งของฝ่าเท้าในเด็กเขตภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Epidemiological survey of foot arch characteristics of children in eastern, Thailand |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2559 |
|
dc.description.abstractalternative |
Objective of this research was to investigate the characteristics of arch of foot in Thai children in Eastern of Thailand. 1,254 boys (45.8%) and 1,484 girls (54.2%), age between 5-16 years old were measured by arch height index in sitting and standing and foot print. The dorsum height and truncated length of foot were measured and arch height index was calculated. The foot prints were captured and the arch heights were calculated by areas of foot print. Frequency, mean, percentile and Pearson’s correlation were analyzed. The results indicated that the average of children’s arch height index of left foot was 0.3419+0.0325 in sitting position (10% of body weight), 0.3122+0.0415 in bipedal standing (50% body weight), 0.3010+0.0635 in single leg standing (90% body weight). The average of children’s arch height index of right foot was 0.3468+0.0349 in sitting position (10% of body weight), 0.31274+0.1254 in bipedal standing (50% body weight), 0.3090+0.0613 in single leg standing (90% body weight). The average of foot print of both feet is normal |
en |