dc.contributor.author |
สยาม ยิ้มศิริ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:10:00Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:10:00Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1962 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ศึกษาสภาพฐานรากของทางรถไฟสายเหนือบริเวณสถานีแม่ตานน้อย อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง โดยเก็บตัวอย่างวัสดุฐานรากที่จุดต่างๆของหน้าตัดแล้วทำการจำแนกเป็น coarse aggregate, coarse fouling, และ fine fouling เพื่อนำมาทดสอบในห้องปฏิบัติการดังนี้ sieve analysis, hydrometer, specific gravity, water absorption, Los Angeles abrasion, aggregate compression value, aggregate impact value, flat and elongation, sulfate soundness, Atterberg limit, และ scanning electron microscopy นอกจากนี้ยังทำการทดสอบในสนามที่จุดต่างๆของหน้าตัดดังนี้ unit weight และ water content ผลการทดสอบแสดงถึงสภาพฐานรากของทางรถไฟและได้เปรียบเทียบกับมาตรฐานทางรถไฟของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลการทดสอบได้ใช้ในการวิเคราะห์การปนเปื้อนของหินโรยทางด้วยทฤษฎีต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงปริมาณของความเหมาะสมในการใช้งาน นอกจากนี้ยังมีการวิเคราะห์ส่วนประกอบของวัสดุ ปนเปื้อนเพื่อศึกษากลไกการเสื่อมสภาพของฐานรากของทางรถไฟ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ทางรถไฟ |
th_TH |
dc.subject |
มาตรฐานทางรถไฟ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
กลไกการเสื่อมสภาพของโครงสร้างฐานรากของทางรถไฟ: กรณีศึกษาของทางรถไฟสายเหนือ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Mechanism of railway sub-structure deterioration: case study of Northern line |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.author.email |
ysiam@buu.ac.th |
|
dc.year |
2559 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research investigates conditions of railway substructures at Mae Tarn Noi Station, Hangchat District, Lampang Province. The specimens are collected from railway substructure at several points in a cross-section. The specimens are subjected to laboratory tests as follows: sieve analysis, hydrometer, specific gravity, water absorption, Los Angeles abrasion, aggregate
compression value, aggregate impact value, flat and elongation, sulfate soundness, Atterberg limit, and scanning electron microscopy. In-situ tests, i.e. unit weight and water content, are also performed at these locations in a cross-section. Test results indicate substructure conditions of Northern line railway and they are compared with AREMA standard. The results
are employed to analyze ballast fouling characteristics by various theories to obtain quantitative indexes of the quality of ballast. Moreover, fouling materials are investigated to reveal the mechanism of railway sub-structure deterioration |
en |