dc.contributor.author |
คมสัน ตรีไพบูลย์ |
th |
dc.contributor.author |
พาวา พงษ์พันธุ์ |
th |
dc.contributor.author |
พจนีย์ เถิงจ่าง |
th |
dc.contributor.author |
รุ่งอรุณ บุญพยุง |
th |
dc.contributor.author |
สญามน รูปต่ำ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:09:55Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:09:55Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1889 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อประเมินหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP model) ได้แก่ ประเมินด้านบริษัท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการและด้านผลผลิต 2) เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นิสิตสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์จำนวน 18 คน ผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงของนิสิตจำนวน 28 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน อาจารย์ประจำหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต จำนวน 5 คน และอาจารย์ผู้สอนจำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และ แบบสัมภาษณ์การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติคือ ค่าเฉบี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการประเมินหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวาการสอนคณิตศาสร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ตามรูปแบบซิปป์ (CIPP model) ได้แก่ ประเมินด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการและด้านการผลิต โดยภาพรววมพบว่ามีความคิดเห็นว่าเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 2. ผลการศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีสิ่งที่ต้องพัฒนาและปรับปรุงได้แก่ ด้านบริบท พบว่า ปรัชญาของหลักสูตรสอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาสังคมนั้นไม่สอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนาสังคม ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า สภาพแวดล้อมยังไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน ด้านกระบวนการ พบว่า ดครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในกาวัดผลไม่มีความเหมาะสมและไม่มีประสิทธิภาพและด้านผลผลิต พบว่า ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ด้านทักษะทางปัญญา นิสิตไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้โดยการนำหลักการต่างๆมาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2558 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การประเมินหลักสูตร. หลักสูตร |
th_TH |
dc.subject |
การศึกษา - - หลักสูตร |
th_TH |
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ - - หลักสูตร |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.title.alternative |
An evaluation of the bachelor of education program (5 years) in mathematics teaching (revised A.D.2011), Faculty of Education, Burapha University. |
en |
dc.type |
งานวิจัย |
|
dc.year |
2559 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were 1) evaluate the curriculum of the Bachelor of Education Program (5 year) in Mathematics Teaching (Revised A.D.2011) by using the CIPP model (context, input, process and product) and 2) to study problems and guidelines to improve the Bachelor of Education Program (5 year) in Mathematics Teaching (Revised A.D.2011). The population of the study were 18 students of the program, 28 school directors and teachers, 3 experts, 5 members of the program committee and 9 instructors. The instruments used in the study included the questionnaire and the interview from. The collected data were analyzed by using mean, standard deviation and content analysis. The result of the research were: 1. The result of the curriculum evaluation of the Bachelor of Education Program (5 year) in Mathematic Teaching (Revised A.D.2011) using the CIPP model indicated that the review was found appropriate at the high level. 2. The results of evaluation the program’s problem and the guideline to improve the curriculum indicated that of the Bachelor of Education Program (5 year) in Mathematic Teaching (Revised A.D.2011). There things that needed to be improved and included the in context such as philosophy of the curriculum and the concept of social development were not consistent. For the input, it was found that the environment was not conducive to learning, both in and outside the classroom. For the process, the tools and methods used in the evaluation was inappropriate and ineffective, For the product, it was found that in General Education concerning Intellectual skills students could apply any principles in problem solving properly. |
en |