DSpace Repository

ความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของมอร์ต้าร์ที่ผสมเถ้าลอย ผงหินปูนและสารขยายตัว

Show simple item record

dc.contributor.author ทวีชัย สำราญวานิช
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:09:53Z
dc.date.available 2019-03-25T09:09:53Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1858
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของมอร์ต้าที่ผสมเถ้าลอย ผงกินปูน และขยายตัว โดยใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 และปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 5 เป็นวัสดุประสานหลัก ใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.30 0.40 และ 0.50 และอัตราส่วนแทนที่วัสดุประสานด้วยสารปอซโซลานต่าง ๆ ส่วนผสมของมอร์ต้ามีทั้งระบบวัสดุประสานสองชนิดและระบบวัสดุประสานสามชนิด นำตัวอย่างมอร์ต้าร์ไปเผชิญสารละลายเกลือคลอไรด์ความเข้มข้น 3.0% เป็ระยะเวลา 35 9 และ 182 วัน แล้วทดสอบหาการแทรกซึมคลอไรด์ของมอร์ต้าร์ โดยทดสอบทั้งปริมาณคลอไรด์ทั้งหมดและปริมาณคลอไรด์อิสระ จากผลการทดลองพบว่า มอร์ต้าที่ผสมเถ้าลอย ร้อยละ 30 มีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ดีกว่ามอร์ต้าที่ผสมผงหินปูน มอร์ต้าร์ที่ผสมสารขยายตัวและมอร์ต้าซีเมนต์ล้วนเนื่องจากผลของปฏิกิริยาปอซโซลานิกของเถ้าลอย มอร์ต้าร์ที่ผสมเถ้าลอยแลผงหินปูนมีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ดีกว่ามอร์ต้าร์ซีเมนต์ล้วนอย่างเห็นได้ชัดเมื่ออัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานสูงขึ้นเนื่องจากผลของปฏิกิริยาปอซโซลานิกของเถ้าลอยและการเติมเต็มช่องว่างในมอร์ต้าร์ของผงหินปูน มอร์ต้าร์ที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตประเภทที่ 1 เป็นวัสดุประสานหลักมีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ดีกว่ามอร์ต้าร์ที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 5 เป็นวัสดุประสาน มอร์ต้าที่ใช้อัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานสูงขึ้นและระยะเวลาเผชิญเกลือคลอไรด์นานขึ้นมีการแทรกซึมคลอไรด์สูงขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2557 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject คลอไรด์ th_TH
dc.subject ผงหินปูน th_TH
dc.subject เถ้าลอย th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title ความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของมอร์ต้าร์ที่ผสมเถ้าลอย ผงหินปูนและสารขยายตัว th_TH
dc.title.alternative Chloride resistance of mortar containing fly ash, limestone powder and expansive agent en
dc.type Research
dc.author.email twc@buu.ac.th
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative This research aims to study the chloride penetration resistance of mortar containing fly ash, limestone powder and expansive agent. Type I Portland cement and type V Portland cement were used as main cementitious materials in mortar. The water to binder ratios (w/b) of 0.30, 0.40 and 0.50 were kept and different pozzolan to binder ratio was applied. The mix proportions of mortar consisted of both binary binder and ternary binder systems. The mortar specimens were exposed to chloride solution with 3.0% concentration for 35, 91 and 182 days. Then, the chloride penetration of mortar was investigated for both total and free chloride contents. From the experimental results, it was found that mortars containing fly ash 30% have better chloride penetration resistance than mortars containing limestone powder, mortars containing expansive agent and cement-only mortars due to the effect of pozzolanic reaction of fly ash. Mortars containing fly ash and limestone powder have clearly higher chloride penetration resistance than cement-only mortars when water to binder ratio increases. This is because the effect of pozzolanic reaction of fly ash and filler effect of limestone powder in mortar. Mortars with type I Portland cement have higher chloride penetration resistance than mortars with type V Portland cement. Mortars with higher w/b and longer chloride exposure period have higher chloride penetration en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account