dc.contributor.author |
ญาณิศา ละอองอุทัย |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:09:53Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:09:53Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1854 |
|
dc.description.abstract |
สิ่งทอ ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ที่ใช้ในการนุ่งห่ม ยังสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่าง ๆ อีกมากมาย รวมไปถึง การนำมาใช้ในทางการแพทย์ เช่น ผ้าพันแผล ชุดผ่าตัด และด้ายเย็บ แผลเป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งทอที่ต้องการให้อยู่ในสภาวะปลอดเชื้อ แต่ในประเทศไทยที่มีอากาศร้อนชื้นทำให้จุลชีพ เจริญเติบโตได้ดี งานวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาการประยุกต์ใช้สารต้านจุลชีพในการเคลือบลงบนสิ่งทอที่ผ่าน กระบวนการพิมพ์ด้วยสีจากเปลือกมังคุดและกัม มาทำการเคลือบด้วยสารต้านจุลชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพ โดยศึกษาสารต้านจุลชีพ ประกอบด้วย สกัดหยาบที่ได้จากฟักข้าว ที่สกัดด้วยตัวทำละลาย เฮกเซนและเอทานอล ซึ่งนำไปใช้ทดสอบการยับยั้งเชื้อ Staphylococus aureus (TISTR 1466) และ Esherichia coli (T2STR 780) ด้วยวิธี Disc diffusion test ที่ความเข้มข้นของสารสกัดหยาบ 300 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร พบว่าฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus สารสกัดจากเยื่อหุ้มเมล็ดที่สกัดด้วยเฮกเซนมีฤทธิ์ยับยั้งดีที่สุด รองลงมาคือ รากที่สกัดด้วยเมทานอล ใบที่สกัดด้วยเฮกเซน ลำต้นที่สกัดด้วยเมทานอล ตามลำดับ ส่วนฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย E. coli พบว่าสารสกัดจากเฮกเซนไม่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียดังกล่าวได้ แต่สารสกัดลำต้นและรากที่สกัดด้วยเมทานอล โดยสารสกัดจากลำต้นยับยั้งได้ดีที่สุด เมื่อนำสิ่งทอคือผ้าฝ้ายและผ้าไหมพิมพ์ด้วยสีเปลือกมังคุดและกัมจากมะขามพบว่าสามารถยับยั้งเชื้อจุลชีพได้เฉพาะ S. aureus และเมื่อนำสิ่งทอที่ย้อมสีดังกล่าวมาเคลือบด้วยสารสกัดฟักข้าวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการต้านจุลชีพ ผลของการเคลือบสิ่งทอด้วยสารต้านจุลชีพ พบว่าไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการยับยั้งได้ นอกจากนี้ยังได้ทำการแยกสารที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคจากสารสกัดหยาบฟักข้าวส่วนใบและเยื่อหุ้มเมล็ดซึ่งให้ผลการยับยั้งเชื้อที่สูง โดยใช้เทคนิคเจลฟิลเตรชันโครมาโตรกราฟี พบว่าการแยกสารสกัดลำดับส่วนด้วยเทคนิคเจลฟิลเตรชันโครมาโตกราฟีและการทดสอบฤทธิ์การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกและแกรมลบ สามารถแยกสารสกัดลำดับส่วนของสารสกัดหยาบส่วนใบได้ 16 ลำดับส่วน พบว่าลำดับส่วนที่ 12 สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อ Escherichia coli ลำดับส่วนที่ 12, 13 และ 14 สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อ Staphylococcus aureus และแยกสารสกัดลำดับส่วนของสารสกัดหยาบส่วนเยื่อหุ้มเมล็ดได้ 18 ลาดับส่วน พบว่าลำดับส่วนที่ 11, 12 และ 13 สามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อทั้งสองชนิด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ 2557 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ฟักข้าว -- การวิเคราะห์ |
th_TH |
dc.subject |
เปลือกมังคุด -- การวิเคราะห์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช |
th_TH |
dc.subject |
สารต้านจุลชีพ |
th_TH |
dc.subject |
สารต้านแบคทีเรีย |
th_TH |
dc.subject |
สารสกัดจากพืช -- การใช้ประโยชน์ |
|
dc.subject |
สารสกัดจากพืช -- การวิเคราะห์ |
|
dc.title |
ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียจากสารสกัดหยาบเปลือกมังคุดและฟักข้าวสำหรับใช้บนผ้าพิมพ์ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Anti-bacterial activity from mangosteen rind and gac crude extract for printing textile |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
Textile is a major factor in human life in the apparel and also be used in many areas especially in medical aspect such as gauze, surgical kits and sewing thread, so they need to be in sterile conditions. But Thailand as the tropical country, this condition is suitable for growing of microorganism. So the objective of this research is applying anti-bacterial substances including crude extract from Gac with organic solvent, hexane and ethanol by coated on the color printing textile from mangosteen and gum for enhancing the efficiency of anti-microbial activity. Antibacterial activity was assessed by disc diffusion method against two bacterial strains, Staphylococcus aureus and Escherichia coli, at the concentration of 300 mg/ml of extracts. The result showed that the hexane extract from arillus showed the highest activity against Staphylococcus aureus follow by methanol extract from root, hexane extract from leaf and methanol extract from stem respectively. In addition, the antibacterial activity of fahk khao extracts against Escherichia coli, were observed from methanol extracts of stem and root while the hexane extracts didn’t show activity against this microorganism. However, the silk and cotton fabrics were color printed by mangosteen and tamarin gum. The antibacterial result showed that only Staphylococcus aureus was inhibited. For enhancing the efficiency of anti-microbial activity, antibacterial substances were coated on the color printing textile from mangosteen and gum. The result showed no antibacterial improvement of coated textile. Additionally, this study also separated an antibacterial substant from left and arillus crude extract of Momordica Cochinchinensis (Lour.) Spreng by gel filtration chromatography. The result shown fraction distillation from gel filtration chromatography and antibacterial activity testing by agar disc diffusion method. By comparing bacterial concentration with McFarland standard. We can separated crude extract from left 16 fractions, and the 12th fraction can resist growing of Escherichia coli 12th, 13th and 14th can resist growing of Staphylococcus aureus. And the crude extract from arillus 18 fractions, 11th, 12th and 14th can resist growing of both microorganisms |
en |