DSpace Repository

การพัฒนากระบอกเก็บตัวอย่างดินที่เหมาะสมสำหรับการเก็บตัวอย่างดินของดินเหนียวกรุงเทพฯ

Show simple item record

dc.contributor.author สยาม ยิ้มศิริ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available 2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1824
dc.description.abstract การรบกวนต่อตัวอย่างดินระหว่างการเก็บตัวอย่างจากสนามจะทำให้ตัวอย่างดินให้ผลการทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมที่ต่ำลง เช่น ค่า strength หรือ modulus ต่ำกว่าความเป็นจริง ซึ่งจะเป็นผลทำให้การออกแบบและการก่อสร้างมีความสิ้นเปลืองมากขึ้น ดังนั้นตัวอย่างดินที่ใช้ทดสอบทางวิศวกรรมในห้องปฏิบัติการจะต้องมีสภาพใกล้เคียงกับในสนามมากที่สุดโดยมีการรบกวนจากการเก็บตัวอย่างน้อยที่สุด Tanaka et al. (1996) ได้มีการแสดงว่าตัวอย่างคงสภาพของดินเหนียวอ่อนที่ได้จากกระบอกเก็บตัวอย่างแบบลูกสูบเป็นการเก็บตัวอย่างแบบกระบอกที่ดีที่สุดทั้งในแง่ของการทำงานและค่าใช้จ่าย แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มี การใช้กระบอกแบบลูกสูบอย่างแพร่หลายในประเทศไทยและไม่มีมาตรฐานในการเก็บตัวอย่างด้วยวิธีนี้ อีกทั้งมาตรฐานของกระบอกแบบลูกสูบในประเทศอื่น (เช่น ASTM, JIS, BS) ก็มีความแตกต่างกัน ฉะนั้นโครงการนี้ จึงทำการออกแบบและผลิตกระบอกเก็บตัวอย่างสำหรับการใช้กับดินเหนียวกรุงเทพฯและขั้นตอนการทำงานเจาะสำรวจดินในประเทศไทยเพื่อเป็นต้นแบบในการพัฒนามาตรฐานของกระบอกเก็บตัวอย่างสำหรับประเทศไทยต่อไป th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ดิน -- การสุ่มตัวอย่าง -- เครื่องมือและอุปกรณ์ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.subject ดินเหนียว -- ไทย -- กรุงเทพฯ th
dc.title การพัฒนากระบอกเก็บตัวอย่างดินที่เหมาะสมสำหรับการเก็บตัวอย่างดินของดินเหนียวกรุงเทพฯ th_TH
dc.title.alternative Development of tube sampler for collecting soil specimen of Bangkok clay en
dc.type Research th_TH
dc.author.email ysiam@buu.ac.th
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative Sample disturbance during in-situ soil sampling deteriorates soil properties, i.e.decrease strength and modulus, which makes the design and construction become too conservative. Therefore, the soil specimen for laboratory testing must be in the state asclose as in the field with minimum sample disturbance. Tanaka et al. (1996) showed that undisturbed specimens from piston sampler is the best in terms of ease of operation andcost. However, the use of piston sampler is not popular in Thailand and there is no country standard for this sampler. Moreover, the standard for piston sampler of other countries (e.g. ASTM, JIS, BS) are different. Therefore, this research project aims to design and produce the sampler which suits for use with Bangkok Clay. The results of this research can giveprototype soil sampler and sampling operation which can be further developed as a standard procedure in the future. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account