DSpace Repository

การประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขการกัดเซาะชายหาดของเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author บุญเชิด หนูอิ่ม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:43Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:43Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1806
dc.description.abstract การประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อป้องกันและแก้ไขการกัดเซาะชายหาดของเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี ได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 4 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนหาดวอนนภา ชุมชนบ้านแหลมแท่น ชุมชนบางแสน และชุมชนบางแสนบน เป็นชุมชนที่อยู่ติดชายหาดของเทศบาลเมืองแสนสุข จำนวนครัวเรือน 445 ครัวเรือน ผลการศึกษาพบว่า ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งที่มีต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม เป็นการสูญเสียที่ดินสิ่งปลูกสร้าง ต้นไม้ รายได้ และมีค่าใช้จ่ายที่ต้องแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ สำหรับความต้องการให้แก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายหาดมีความต้องการให้ดำเนินการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายหาดด้วยโครงสร้างแข็ง และวิธีการเสริมทราย และความเต็มใจที่จะจ่ายในการแก้ไขและป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยนำตัวแปรทางเศรษฐกิจและสังคม ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ ราคาบิค และการศึกษา มาวิเคราะห์ในการเต็มใจที่จะจ่ายเฉลี่ยประมาณ 253 บาทต่อเดือน และการประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขการกัดเซาะชายหาดของเทศบาลเมืองแสนสุข ประมาณ 33,459,899 บาทต่อปี th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับการสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ 2558 คณะมนุยศาสตร์และสังคมศาสตร์ en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การป้องกันชายฝั่ง - - การมีส่วนร่วมของประชาชน th_TH
dc.subject ความเต็มใจจ่าย th_TH
dc.title การประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขการกัดเซาะชายหาดของเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative The evaluation data of willingness to pay for preventing and correcting the erosion at the Saensuk municipality, Chonburi province en
dc.type Research
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The evaluation data of willingness to pay for preventing and correcting the erosion at the Saensuk municipality, Chonburi Province, was collected from four sample communities which are WonNapa beach community, Ban Lamtaen community, Bangsean community and upper Bangsean community. These 445 households are located next to the Saensuk municipality beach. The study found that the impacts of coastal erosion on economy, society and environment cause the loss of land, buildings, trees, revenues and costs to fix the erosion. The local needed the strong structure and extra sand to amend the beach erosion problem. When socio-economic variables, including gender, age income Rubik price and education were taken into account, the average cost of this intention was 253 baht per month. As a result, The willingness evaluation to pay for preventing and correcting the erosion at the Saensak municipality was 33,549,899 bath per year. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account