DSpace Repository

ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อส่วนประสมทางการตลาดและความตั้งใจซื้อข้าวหลามจากตลาดหนองมน บางแสน จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author วุฒิชาติ สุนทรสมัย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:43Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:43Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1801
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความรู้เกี่ยวกับข้าวหลาม ศึกษาพฤติกรรมการซื้อข้าวหลาม ความต้องการและความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาด และความตั้งใจซื้อซ้ำ ตลอดจนเปรียบเทียบความต้องการและความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดของผู้บริโภคที่ซื้อข้าวหลาม จากตลาดหนองมนจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมการซื้อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดและความต้องการ ความรู้เกี่ยวกับข้าวหลามและความตั้งใจซื้อซ้ำของผู้บริโภคที่ซื้อข้าวหลามจากตลาดหนองมน ใช้การวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ ผู้บริโภคชาวไทยที่มาท่องเที่ยวในตลาดหนองมน เลือกตัวอย่างด้วยวิธีตามสะดวกจำนวน 422 คน ใช้แบบสอบถามที่มีความเที่ยงตรงและเชื่อมั่น และใช้การวิเคราะห์โดยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิงเพื่อทดสอบสมมติฐานด้วยระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 การศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับข้าวหลามในระดับมาก ส่วนใหญ่ซื้อข้าวหลามประเภทข้าวเหนียวขาว ไส้ถั่วดำ กระบอกใหญ่ จำนวน 3 กระบอก กระบอกกลาง จำนวน 6 กระบอก กระบอกเล็ก จำนวน 8 กระบอกแบบช็อต จำนวน 4 กระบอก เป็นเงิน 101-200 บาทต่อครั้ง ซื้อก่อนเดินทางกลับบ้านเพื่อรับประทานเองและเป็นของฝากพี่น้องและญาติ โดยซื้อจากร้านขายของฝาก ผู้บริโภคมีความต้องการส่วนประสมทางการตลาดด้านการจัดจำหน่ายข้าวหลามจากตลาดหนองมนในระดับมาก และด้านลักษณะทางกายภาพและการนำเสนอระดับปานกลาง และผู้บริโภคมีความพึงพอใจด้านการจัดจำหน่ายข้าวหลามจากตลาดหนองมนระดับมากเช่นกัน ในขณะที่ ด้านผู้ให้บริการระดับปานกลาง ผู้บริโภคตั้งใจกลับมาซื้อข้าวหลามระหว่าง 3-6 เดือน มากที่สุด ถ้าราคาของข้าวหลามหนองมนมีราคาเพิ่มขึ้นจากเดิม ผู้บริโภคไม่แน่ใจว่าจะกลับมาซื้อ และหากราคาของข้าวหลามหนองมนมีราคาลดลงจากเดิม ผู้บริโภคไม่แน่ใจว่าจะกลับมาซื้อ และหากราคาของข้าวหลามหนองมนมีราคาลดลงจากเดิม ผู้บริโภคตั้งใจกลับมาซื้อมากที่สุด และจะเลือกซื้อของทะเลแห้งมากที่สุดถ้าข้าวหลามจากตลาดหนองมนหมดหรือไม่มีขาย ผลการทดสอบสมมติฐาน สรุปได้ว่า ผู้บริโภคเพศชาย มีความพึงพอใจด้านราคา มากกว่าเพศหญิงพนักงานบริษัทมีความพึงพอใจส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อข้าวหลามจากตลาดหนองมนด้านผลิตภัณฑ์ มากกว่ากลุ่มอาชีพอื่น ๆ ผู้บริโภคที่มีผู้ฝากซื้อ มีความพึงพอใจส่วนประสมทางการตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดมากที่สุด และผู้บริโภคที่ซื้อข้าวหลามจากร้านขายของฝากที่ไม่ได้ตั้งในและรอบตลาดมีความพึงพอใจส่วนประสมทางการตลาดด้านราคามากที่สุด ในส่วนของความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กันทางบวกกับความต้องการส่วนประสมทางการตลาดข้าวหลามจากตลาดหนองมนในภาพรวมของผู้บริโภค และความรู้เกี่ยวกับข้าวหลาม ในข้อที่ว่า ข้าวหลามเป็นเอกลักษณ์ของหนองมน มีความสัมพันธ์กันทางบวกกับความพึงพอใจต่อส่วนประสมการตลาดของผู้บริโภค รวมทั้งความพึงพอใจต่อส่วนประสมทางการตลาดด้านราคามีความสัมพันธ์กันทางบวกกับความตั้งใจซื้อซ้ำข้าวหลามของผู้บริโภค การวิจัยในอนาคต ควรมีการติดตามผลของผู้เยี่ยมเยือนภายหลังการซื้อ สัมภาษณ์เจาะลึก และศึกษากับร้านค้าปลีกอื่น ๆ ในละแวกใกล้เคียงกัน th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนงบประมาณเงินรายได้ ปี 2557 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ความตั้งใจซื้อซ้ำ th_TH
dc.subject ความพึงพอใจ th_TH
dc.subject สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH
dc.subject ส่วนประสมทางการตลาด th_TH
dc.title ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อส่วนประสมทางการตลาดและความตั้งใจซื้อข้าวหลามจากตลาดหนองมน บางแสน จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Consumer satisfaction on marketing mix and intention to repurchase "Kow Lam" at Nongmon marketplace in Bangsean, Chonburi, Thailand en
dc.type Research
dc.year 2559
dc.description.abstractalternative The gift or souvenir industry is one of the value-creation tourism system. The buying behavior in tourist destination has been widely interesting for the destination management and marketing organization. Major tourism marketing determinants of this matter were documented. The study aimed to investigate customers’ knowledge of sweet sticky rice in the bamboo “Kowlam” as gift from Nongmon marketplace in Bangsean, Chonburi, Thailand, to study their purchasing behavior and needs as well as satisfactions on the marketing mix which lead to repurchase intention, and to compare needs and satisfactions based on personal factors and purchasing behavior, and to investigate the relationships among customers’ need and satisfaction and knowledge as well as repurchase intention. Descriptive research was conducted. 422 samples were conveniently selected to answer the self-administered and structural questionnaire with high reliability and validity. Descriptive statistics were calculated and inferential statistics were performed to test the established hypotheses with .05 level of significance. The study found that most respondents had high level of their knowledge on Koelam. They have mostly purchased a variety choices of Kowlam made from white sticky rice with black bean favor from souvenir shops in Nongmon marketplace. They also spent 101-200 bath per time on Kowlams as gifts or souvenirs to bring back for themselves and relatives. Distribution channel of Kowlam was the most consumers’ satisfaction factor among marketing mix factors. They also intended to repurchase Kowlam within 3-6 months. However, they hesitated to repurchase it, if price of Kowlam was assumed 20% increased while they did intend to repurchase Kowlam, if its price was assumed 20% decreased. Surprisingly, male customers were more satisfied on price than female, while private sector workers were more satisfied on product than the other careers. Positive and high relationship between customers’ need and satisfaction was found. Recommendations from the study suggest to improve the Kowlam package design and to add more healthy favor favor choices of Kowlam. Conducting customer depth interview and extending sample to specific target market were recommended for future study en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account