dc.contributor.author |
สร้อยพัทธา สร้อยสุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
วิลาสินี วิสัยจร |
|
dc.contributor.author |
ชลิดา นิ่มนวล |
|
dc.contributor.author |
อรวรรณ ม่วงหิมพานต์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:08:42Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:08:42Z |
|
dc.date.issued |
2556 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1795 |
|
dc.description.abstract |
ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาปฏิกริยาคาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรจิเนชันเพื่อผลิตสารเมทานอล โดยจะทำการศึกษาตัวเร่งปฏิกริยาคอปดปอร์บนเซอร์โคเนีย (Cu/Zro_2)ที่มีการเติมแคลเซียมออกไซด์ ( CaO ) ด้วยวิธีกรรม ต่างกัน เตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาโดยวิธีการเคลือบฝังแบบเปียก(Wetness Impregnation) ที่มีอุณหภูมิในการแคล ซิเนชัน 300 และ 650 ℃ ตามอุณหภูมิการสลายตัวทางความร้อนของตัวเร่งปฏิกริยา ซึ่งทดลองปฏิกริยา คาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรจิเนชัน ที่อุณหภูมิ 250℃ ความดัน 1 บรรยากาศ อัตราส่วน Co_2:H_2 เท่ากับ 1:3 และอัตรา การไหลของแก๊สรวมคง 50 ml/min จากการทดลองปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรจิเนชันพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยา Cu/Zro-Ca0300 จะมี %Co_2 conversion เท่ากับ 6.2% และตัวเร่งปฏิกริยาที่ผสมแคลเซียมออกไซด์ก่อนการเคลือบฝังคอปเปอร์Cu/Zro_2-CaO300 และ Cu/Zro_2-CaO650 จะมี %Co_2 conversion และอัตราการเกิดผลิตภัณฑ์สูงกว่า การเลือกเกิดเมทานอลมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับตัวเร่งปฎิกิริยาคอปเปอร์บนเซอร์โคเนีย (Cu/Zro_2) และคอปเปอร์บนบนแคลเซียมออกไซด์ผสมไซด์ผสมเชิงกลกับคอปเปอร์บนเซอร์โคเนีย 10% โดยน้ำหนัก (Cu/Zro_2-Cu/CaO) สำหรับการเกิดสารเมทานอลพบว่าตัวเร่งปฎิกริยา Cu/Zro_2จะมีการเลือกเกิดเมทานอลมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับตัวเร่งปฎิกิริยาทดลอง ทั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า การผสม Cao ไม่ช่วยส่งเสริมการเลือกเกิดเมทานอล แต่อย่างไรก็ตาม CaO จะส่งเสริมการเลือกเกิดสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ในการแคลซิเนชันพบว่าที่อถณหภูมิ 300℃ ตัวเร่งปฏิกิริยา Cu/Zro_2-CaOจะให้การเลือกเกิดผลิตภัณฑ์เป็นแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์(CO)และสนับสนุนการเกิดเมทานอลมากกว่าการแคลซิเนชันที่อุณหภูมิ 650℃ ซึ่งจะให้การเลือกเกิดผลิตภัณฑ์เป็นสารไฮโดรคาร์บอน(C_2 C_3)มากกว่า |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
วัสดุทางทะเล |
th_TH |
dc.subject |
สารเมทานอล |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
โครงการ การใช้วัสดุทางทะเลสำหรับโปรโมตปฏิกิริยาคาร์บอนไดออกไซด์ไฮโดรจิเนชัน |
th_TH |
dc.title.alternative |
Application of marine materials as a promoter for CO2 hydrogenation |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2556 |
|
dc.description.abstractalternative |
The aim of this research is to study Co_2 hydrogenation-to-methanol over CaOmodified Cu/ZrO_2catalysts. It focuses on ZrO_2 catalysts. It focuses on ZrO_2 supported Cu catalysts (Cu/ZrO_2) modified by calcium oxide that were prepared by wetness impregnation. The calcination temperatures were varied at 300 and 650℃ corresponding to thermal decomposition of as-synthesized catalysts. The Co_2 hydrogenation reactions were carried out at 250℃ and under atmospheric pressure while as CO_2:H_2 was fixed at molar ratio of 1:3 and total flow rate of 50ml/min. The Cu/ZrO_2-Cao300 exhilbited the highest %CO2 conversion equal to 6.2% The catalysts that physically mixed ZrO_2 with Cao before wetness impregnation of cu precursor(Cu/Zro_2-CaO300 and Cu/ZrO_2-CaO650) obtained %CO_2 conversion and the hydrocarbon production rates that were higher than those of unmodified catalyst (Cu/ZrO_2)and Cu/ZrO_2 mechanically mixed with Cao supported cu catalyst at 10% by wt (cu/ZrO_(2 )–Cu/Cao), whereas the highest rate of methanol synthesis was obtained by Cu/ZrO_2 . This may conclude that presence of Cao in the catalysts possibly encouraged long chain polymerization of hydrocarbon while as it deficiently facilitated production of methanol. The calcination affected the
product selectivity of CO_2 hydrogenation. The production of carbonmonoxide was selective over the Cao modified Cu/ZrO_2 calcined at 300 °C. The catalytic sites were inactive plausibly to CO adsorption after water gas shift reaction took place, however they were active to methanol formation compared to Cu/Zro2-Cao650 which hydrocarbon was the majority of products. |
en |