dc.contributor.author |
เจษฎา สายใจ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:08:42Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:08:42Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1791 |
|
dc.description.abstract |
เบรคเกอร์ไฟดูดเป็นระบบป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วที่มีใช้อยู่ปัจจุบัน โดยจะทำการตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อเกิดการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ทำให้สามารถป้องกันผู้ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าจากอันตรายได้ แต่ระบบป้องกันไฟฟ้ารั่วดังกล่าวไม่สามารถระบุได้ว่าอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวใดเกิดการกระแสไฟรั่ว ระบบตรวจสอบกระแสไฟฟ้ารั่วดังกล่าวไม่สามารถระบุได้ว่าอุปกรณ์ไฟฟ้าตัวใดเกิดการกระแสไฟฟ้ารั้วได้ โดยใช้หลักการเพิ่มสัญญาณความถี่สูงค่าเฉพาะเข้าไปในสายกราวด์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัวผ่านวงจรเชื่อมต่อเชื่อมต่อสัญญาณ(Coupling circuit) เมื่อเกิดการรั่วของกระแสไฟฟ้าที่อุปกรณ์นั้น แล้ววัดกระแสไฟฟ้าที่สายกราวด์ (Coupling Transform: FFT) บนคอมพิวเตอร์ โดยเมื่ออุปกรณ์มีกระแสไฟฟ้ารั่วจะมองเห็นองค์ประกอบความถี่ 50 เฮิร์ตซ์ และความถี่เฉพาะสำหรับอุปกรณ์นั้น ทำให้สามารถระบุตำแหน่งของอุปกรณ์ที่เกิดไฟรั่วได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนุบสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กระแสไฟฟ้ารั่ว |
th_TH |
dc.subject |
จวงจรรวมตวามถี่ |
th_TH |
dc.subject |
วงจรไฟฟ้า |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
โครงการระบบตรวจสอบกระแสไฟฟ้ารั่ว |
th_TH |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
Earth leakage circuit breaker (ELCB) has been designed to protect leakage current through ground fault by using voltage or current measurement However, these devices cannot indicate which electrical load has subjects to leakage current. The earth leakage current monitor system is based on the frequency analysis of current appears in ground line at main distribution board (MDB) when leakage current appears at the particular electrical load, additional frequency has been coupled to its ground terminal which leads to generate current in ground line at the MDB. This current consists of the fundamental frequency 50 Hz and additional frequency and will be sensed by current sensor and transmitted to the Computer via the data acquisition unit. Fast Fourier Transformation (FFT) is consequently used to analyze the data. Particular frequency spectrum will clearly appear and indicate the location of faulty electrical load in the system. |
en |