dc.contributor.author |
เพชร์รัตน์ ลิ้มสุปรียารัตน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:08:42Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:08:42Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1788 |
|
dc.description.abstract |
คุณภาพเป็นหนึ่งเป้าหมายหลักของงานก่อสร้าง เจ้าของงาน วิศวกร และผู้ควบคุมงานส่วนใหญ่พยายามปรับปรุงคุณภาพโดยการนำระบบการตรวจสอบคุณภาพมาใช้ อาทิเช่น ควบคุมงานผ่านเอกสารรายการตรวจสอบโดยการบันทึกลงบนกระดาษ ซึ่งเป็นวิธีการที่ทำให้ผู้คุมงานก่อสร้างต้องใช้เวลาในการดำเนินการเกี่ยวกัยงานเอกสารต่างๆ ค่อนข้างมาก เช่น การตรวจสอบตามรายการเอกสาร การบันทึกผบตรวจสอบ และนำข้อมูลส่งไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องรวมถึงความไม่สะดวกในการใช้เอกสารกระดาษในระหว่างปฏิบัติงานในพื้นที่ก่อนสร้างนอกจากนั้นแล้วการควบคุมงานก่อสร้างต้องใช้ประสบการณ์ของผู้ควบคุมงาน หากผู้คงบคุมงานมีประสบการณ์หรือความรู้ไม่เพียงพอ อาจทำให้ต้องการเข้าถึงข้อมูลในทันทีเพื่อช่วยให้สามารถตรวจสอบงานได้อย่างถูกต้อง
งานวิจัยนี้จึงช่วยทำการพัฒนาระบบการช่วยตรวจสอบคุณภาพวานก่อสร้างผ่านแอปพิเคชันในสมารท์โฟนสำหรับการตรวจสอบคอนกรีตเสริมเหล็กของการก่อสร้างบ้านพักอาศัย เพื่อให้ผู้ควบคุมงานก่อสร้างสามารถเข้าถึงข้อมูลการตรวจสอบงานได้สะดวกมากขึ้น งานที่ถูเลือกและนำมาใช้ในการพัฒนาระบบต้นแบบประกอบไปด้วย งานวางแผน งานฐานราก งานคานคอดิน งานวางพื้นแบบดิน งานพื้นหล่อในที่บโครงสร้าง งานเสา งานคานชั้น 2 งานพื้นสำเร็จรูป และงานบันไดคอนกรีต ชุดเครื่องมือสำหรับใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขึ้นสามารถใช้งานบนอุปกรณ์สมารท์โฟนที่จะใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอย์(Android) ผู้ควบคุมงานสามารถส่งข้อมูลผลการตรวจสอบไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น เจ้าของอาคารผู้ว่าจ้าง หรือวิศวกร โดยการข้อมูลผ่านจดหมายอิเล็กหรอนิกส์ ขั้นตอนการพัฒนาระบบต้นแบบเริ่มต้นด้วยการรวบรวมข้อมูลการตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร้างจากหนังสือ ตำราและเอกสารการตรวจสอบรงานก่อสร้างในหน่วยงานก่อสร้าง จากนั้นทำการเขียนโปรแกรมพร้อมทดสอบในห้องปฏิบัติการ เมื่อพฒนาระบบต้นแบบแล้วเสร็จจึงนำไปทดสอบและประเมินโดยกลุ่มวิศวกรรมและผู้ควบคุมงานที่มีประสบการณ์ในการควบคุมงานก่อสร้างจำนวน31 คน ปลการประเมินระบบต้นแบบสำหรับความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ปานกลางถึงดี |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การตรวจสอบ |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพงานก่อสร้าง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.subject |
แอปพลิเคชันสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
th_TH |
dc.title |
โครงการ การพัฒนาระบบช่วยตรวจสอบคุณภาพงานก่อสรา้งโดยการใช้แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ กรณีศึกษา อาคารพักอาศัย 2 ชั้น |
th_TH |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2559 |
|
dc.description.abstractalternative |
Quality is one of success keys for construction. Most of owners, engineers, and inspectors try to improve the quality of their work by implementing inspection system for example paper based checklist document. This system requires inspectors’ recording the inspection results, and submitting data to all involved parties. It is also inconvenience to use paper based document when they preformed construction tasks.
This research aims to develop quality inspection supporting system via mobile application on smartphone which is used for inspecting reinforced concrete house. The inspectors can conveniently access the inspection information. The construction work which were selected to develop the prototype system consist of layout, foundation, beam, column, slab on ground, slab on structure, prefabricated slab, and stair works, In order to develop the Android mobile application, the blocks-based programming tool named MIT App Inventor was deployed. The developed system can be used on Android smart phones. The inspectors can submit the inspection results to the receivers such as owners and engineers by using electronic mail via the Internet. The system developing processes were gathering the inspection from academic books and real checklist document from construction sites. Then, programming the prototype system and testing in laboratory were done. When the prototype system was completed, it was tested and evaluated by 31 experienced engineers and inspectors. The evaluation results for their satisfaction regarding prototype system were in moderate to good level |
en |