DSpace Repository

การรับรู้และความคาดหวังต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออก.

Show simple item record

dc.contributor.author สถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:39Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:39Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1762
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวังต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยการวิเคราะห์บทบาทใน 4 ด้านการผลิตและการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ด้านการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ ด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน และด้านการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออก จำนวน 279 โดย จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการทำงาน วุฒิการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นโดยรวมเท่ากับ 0.93 และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย การทดสอบค่าที (t-test)การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และค่าสัมประสิทธฺ์สหสัมพันธ์ (Simple Correlaion)ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ 1.ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการรับรู้ต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคาดหวังต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษา ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ด้านการวิจัยและพัฒนา องค์ความรู้ ด้านบริการวิชาการแก่สังคม และด้านการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ตามลำดับ 2.การเปรียบเทียบการรับรู้และความคาดหวังต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่าผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความคาดหวังต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหาร และผู้นำทางการศึกษาสูงกว่าการรับรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อวิเคราะห์โดยจะแนกตามเพศ พบว่าการรับรู้ของผู้บริหารโดยรวมและด้านการผลิตและพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ด้านการบริการวิชาการแก่สังคมแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนความคาดหวังโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามประสบการณ์ผู้บริหาร พบว่ามีการรับรู้ไม่แตกต่างกัน ส่วนความคาดหวังโดยรวมและรายด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามวุฒิการศึกษาของผู้บริหาร พบว่าการรับรู้ด้านการผลิตและพัฒนา คุณภาพบัณฑิตและด้านการอนุรักษ์ศิลปกรรม แตกต่างกันอย่างน้อยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนความคาดหวัง โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามสังกัดสถานศึกษา พบว่าผู้บริหาร มีการรับรู้โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนความคาดหวังไม่แตกต่างกันยกเว้นด้านการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.การรับรู้และความคาดหวังต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษา ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวมมีความสัมพันกันทางบวก ในระดับค่อนข้างสูง (rxy=.64)อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 th_TH
dc.description.sponsorship การวิจัยครั้งนี้ได้รับเงินอุดหนุน จากคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2557
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การรับรู้ th_TH
dc.subject ความคาดหวัง th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การรับรู้และความคาดหวังต่อบทบาทของศูนย์นวัตกรรมการบริหารและผู้นำทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคตะวันออก. th_TH
dc.title.alternative Perception and expectation on the role of innovative administration and educational leadership center of the basic school administrators, eastren region, Thailand. en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The purposes of the study were to investigate and compare perception and expectation on the role of Innovative Administration and Educational leadership center (IAELC) Faculty of Education,Burapha University , considered 4 areas, students ' development , research and knowledge development , academic service , and Thai culture conservation. The sample were administrators of basic schools in eastern region , Thailand , 279 administrators by stratified random sampling and classified by gender , experience , educational level and schools under taking. Data were collected by 5 rating scales of questionnaires, at .93 confidence, Data were analyzed by descriptive statistic and comparative means with t-test, one-way ANOVA and simple correlation, by SPSS. The findings were as follows: 1) The administrators of basic schools overall were perception on the role of IAELC at the moderate level and expectation on the role of IAELC at the high level, the students' quality development was highest, followed by research and knowledge development, academic services and Thai culture conservation, respectively. 2)Comparison on means overall of the role of basic school administrators perception and expectation were found, the school administrators expectation were higher than perception with statically significant different (p<.01), when comparison by gender by gender of school administrators' perception were different with statistically significant on students' quality development and academic service, but school administrators expectation were statically significant different (p<.05) Comparison by school administrators experience perception were no different with statistically significant, but school administrators expectation were statistically significant (p<.05), on students' quality development and Thai culture conservation, but school administrators expectation were different with statistically significant (p<.05), And comparison by school administrators of school under taking perception were different with statistically significant (p<.05), but school administrators expectation were different with statistically significant,except expectation on research and knowledge development different with statistically significant (p<.05). 3)The role of IAELC on administrators perception and expectation were correlated directly at nearly high level (r xy = .64) with statistically significant (p<.01) en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account