dc.contributor.author | ทิพย์เกสร บุญอำไพ | th |
dc.contributor.author | นุสรา พีระพัฒนพงศ์ | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:39Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:39Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1754 | |
dc.description.abstract | การวิจัยการวิจัยเรื่อง การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ในด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้าด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ผู้วิจัยใช้วิธีการประเมินแบบ CPP ของ Daniel L. Stufflebeam เก็บรวบรวมข้อมูลจาก ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักสูตร 4 กลุ่ม ได้แก่ อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรบัณฑิต นิสิตที่กำลังศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าสถิติ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1.การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาโดยภาพรวม พบว่า อาจารย์สอนประจำหลักสูตร บัณฑิต นิสิตที่ กำลังศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา และผู้ที่ใช้บัณฑิต มีความคิดเห็นว่าเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 2.การประเมินด้านบริบท พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือวัตถุประสงค์หลักสูตร ส่วนโครงสร้างหลักสูตรมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมา 3.การประเมินด้านปัจจัยนำเข้า พบว่า ในภาพรวมหลักสุตรมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือรายวิชาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา สำหรับคุณสมบัติ คุณวุฒิ และ คุณลักษณะของอาจารย์และนิสิตมีค่าเฉลี่ยในระดับมากที่สุดรองลงมาตามลำดับ ส่วนอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยในระดับมาก 4.การประเมินด้านกระบวนการ พบว่า ในภาพรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ กระบวนการเรียนการสอนในหลักสูตร ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดรองลงมา คือ กระบวนการประเมินผลการเรียนการสอน ส่วนกระบวนการพัฒนานิสิตและ การบริหารหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยในระดับมากที่สุด 5.การประเมินด้านผลผลิต พบว่า ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือด้านคุณภาพลักษณะและความสามารถในการปฎิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษาส่วนด้านผลกระทบมีค่าเฉลี่ยในระดับมาก โดยความสามารถในการนำความรู้ประยุกต์กับงานที่ปฎิบัติมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ส่วนด้านงานวิจัยที่ได้รับรางวัล และความสามารถในการสื่อสารเป็น ภาษาอังกฤษ มีค่าเฉี่ยระดับปานกลางเท่านั้น สำหรับการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต พบว่า มีผลการประเมินอนู่ในระดับมาก โดยลำดับสูงสุดคือด้านธรรมและจริยธรรม/ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | th_TH |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | th_TH |
dc.title | การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554 | th_TH |
dc.title.alternative | Evaluation of the Ph.d curriculum in educational technology, faculty of education, Burapha University | en |
dc.type | งานวิจัย | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of the research of the evaluation of the Ph.D. curriculum in educational technology, faculty of Education , Burapha University was to evaluate the curriculum on doctor of philosophy program in Educational Technology, Faculty of education, burapha university in context, input, process and product. The researcher conducted a curriculum evaluation by using the DIPP Model of Daniel L.stufflebeam .the data were collected from the routine curriculum instructors, graduates, students of doctoral of philosophy program in Educational Technology and graduates’ employers. The research instruments were the questionnaire and the The interview form. The collect were analyzed by using percentage, mean, standard deviation and content ananlysis. The results of the research research were as follws:- 1.the evaluation of the Ph.D. curriculum in educational technology, faculty of Education, Burapha University as a whole found that the opinions of routine curriculum instructors, graduates, graduates, student of doctoral of philosophy program in Educational Technology and graduates’ employers were appropriate at highest level. 2.The context evaluation found that as a whole was appropriate at the highest level. When considered in each item, the item on the purpose of the curriculum was at the highest level. The curriculum structure was second sequence highest level. 3.the input evaluation found that as a whole was appropriate at the highest level. When considered in each item, the highest level was the courses of the Ph.D. curriculum in educational technology. The second sequence highest level were the specifications and features of the routine curriculum instructors and the students of doctoral of philosophy program. But the premises and facilities for the instruction were at the high level. 4.the process evaluation found that as a whole was appropriate at the highest level. when considered in each item, the highest level was the instructional process. The second sequence highest level was the instructional evaluation process. But the students’ development process and the curriculum administration are high level. 5.the product evaluation found that as a whole was appropriate at the high level, but when considered in each item, the highest level was the graduates’ attributes and ability to work. But the effect aspect was at the high level. However the graduates’ knowledge application to work was at the highest level .but their research reward English communication were at the moderate level. Additionally, the satisfaction evaluation of the graduates’ employers found that was at the high level as a whole. The first sequences were the morality and ethics, and interpersonal relationship skills and responsibility | en |