DSpace Repository

การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่มีต่อการดำเนินงานเสริมสรา้งเอกลักษณ์ของคณะ

Show simple item record

dc.contributor.author เพ็ญนภา กุลนภาดล
dc.contributor.author วัชรพล เปรมกมล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:08:39Z
dc.date.available 2019-03-25T09:08:39Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1753
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ที่มีต่อเอกลักษณ์คณะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ บุคลากรสังกัดคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อเอกลักษณ์คณะตามเกณฑ์ประเมินตัวบ่งชี้ สมศ ที่ 17 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นอาจารย์ ร้อยละ 59.8 เพศหญิง ร้อยละ 52.86 อายุงานระหว่าง 6-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 36.17 ระดับการศึกษา ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 70.21 ความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ที่มีต่อเอกลักษณ์คณะ อยู่ในระดับมาก (Mean = 3.55, SD = 0.89) ประเด็นการกำหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงานพัฒนานิสิตให้เป็นบัณฑิตที่สื่อสวารเป็นเลิศ ประเสริฐน้ำใจ วินัยชั้นครู ดูแลสุขภาพ มีคะแนนความพึงพอใจ ในระดับสูงสุด (Mean = 3.84, SD = 0.9 ส่วนประเด็นที่มีความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ที่มีต่อเอกลักษณ์คณะ อยู่ในระดับต่ำสุดคือ ประเด็นการกำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และมีการปรับปรุงการดำเนินงานเป็นรูปธรรมเพื่อสรา้งเอกลักษณ์ "เป็นแหล่งเรียนรู้ศาสตร์ทางการศึกษาของประชาคมอาเซียน (Mean = 3.3, SD = 0.87) เมื่อผู้วิจัยวิเคราะห์ประเด็นตามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความพึงพอใจของบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่มีต่อการดำเนินงานเสริมสร้างเอกลักษณ์คณะ พบว่ามีบุคลากรที่แสดงความคิดเห็นในประเด็นนี้ จำนวน 83 คน สรุปเป็นประเด็นที่สำคัญได้ 6 ประเด็น โดยปัญหาเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ มีความถี่มากเป็นลำดับที่ 1, ลำดับที่ 2 ความชัดเจนของเอกลักษณ์คณะ, ลำดับที่ 3 นโยบายที่เป็นรูปธรรม, ลำดับที่ 4 การพัฒนาและฝึกอบรมให้นิสิตและบุคลากร, ลำดับที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของระบบบริหาร, ลำดับที่ 6 อื่น ๆ เช่น ต้องการให้มีผู้รับผิดชอบโดยตรง th_TH
dc.description.sponsorship ทุนส่งเสริมการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2557 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ความพึงพอใจ th_TH
dc.subject บุคลากร th_TH
dc.subject เอกลักษณ์ th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่มีต่อการดำเนินงานเสริมสรา้งเอกลักษณ์ของคณะ th_TH
dc.title.alternative The study satisfaction of educational faculty's personnels, Burapha University toward the strengthening of faculty identity en
dc.type Research
dc.year 2558
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were 1) to study a satisfaction of personnel on the Faculty's identity 2) to their knowledge on identity. The sample was 117 people which is derived from 166 staff of the Faculty. The instrument was a questionnaire on satisfaction of the staff regarding the identity of the Faculty based on the indicator 17 th of ONESQA. The questionnaire consists of 3 parts, part 1 was a general information of the respondents included age, sex, period of employment and level of education, part 2 was a satisfaction on the identity and part 3 was comments or suggestions. The results were as follow; 1. The numbers of the respondents were 117. Most of them were instructor (59.8%) And the officers 47, most of them were female (78.72%). In a group of the instructor most of them were female (52.86%), had a period of employment between 1-5 years and graduated at a doctoral level 82.86%. In a group of the officers most of them had a period of employment between 6-10 year (36.17%) and graduated at bachelor degree (70.21%).2. The satisfaction on the identity of the Faculty was in moderate (Mean = 3.24, SD = 1.17). The highest item was 14th with mean =3.58, sd 1.19 (To defining strategies in a development of students' performance to be excellence in communications, gracious, disciplinary and health care). Followed by 11 th with mean = 3.51, SD =1.19 (To be a learning resource in science of education in ASEAN community). The lowest item was "The monitoring and evaluating the implementation and improvement of the concrete operating to establish identity as " to be an education science resource of the ASEAN community", found in moderate with ,ean = 2.96, SD = 1.111 3. The staff has provided suggestions in 6 issues; the public relations, the clarity of identity, the perceptible policy, a develpment and training for students and employers, the change of management system and other. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account