dc.contributor.author | สันติ อุดมศรี | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:08:38Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:08:38Z | |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1749 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง "การสืบทอดวัฒนธรรมดนตรีไทยในมหาวิทยาลัยบูรพา" ซึ่งเป็นงานวิจัยในโครงการ "วิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ในชลบุรี" ดนตรีไทยของมหาวิทยาลัยบูรพา มีมาตั้งแต่เริ่มต้นเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน โดยมีหลักสูตรการสอนในรายวิชาดนตรีวิจักษ์ (Music Applications) ซึ่งเป็นรายวิชาพื้นฐานบังคับที่นิสิตทุกคนจะต้องลงทะเบียน เพื่อให้นิสิตได้เกิดความซาบซึ้งในสุนทรียภาพ ความงามทางศิลปะและความไพเราะทางเสียงดนตรี รายวิชาดังกล่าวนี้เป็นจุดเริ่มต้นหลักของดนตรีไทยในมหาวิทยาลัยบูรพาที่มีการสืบทอดวัฒนธรรมมายาวนานจนครบ 59 ปี (พ.ศ. 2498-2557) ทำให้ดนตรีไทยขยายตัวขึ้นมาเป็นวิชาเฉพาะด้านในคณะวิชาการต่าง ๆ ในลำดับต่อมา ในสมัยศาสตราจารย์ มล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ ได้มีการเชิญครูดนตรีไทยคนสำคัญทางด้านเครื่องสายจากกรมมหรสพ คือ ขุนสนิทบรรเลงการ (จง จิตตเสวี) ซึ่งทานมีฝีมือดีในทางเครื่องสาย และเชิญครูชฎิล นักดนตรี เป็นผู้สืบทอดวัฒนธรรมดนตรีไทยมาจากท่านครูหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้เข้ามาดูแลรับผิดชอบในการสอนดนตรีไทยให้กับชมรมดนตรีไทยมหาวิทยาลัยบูรพา และสืบทอดมาเป็นลำดับดังนี้ ดร. ชูชาติ พิณพาทย์ อาจารย์สุชาติ ศรีโสภาภรณ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ณยศ ครุกิจโกศล และอาจารย์นิพนธ์ กลำกล่อมจิต มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นสถานศึกษาที่เป็นแหล่ง มหาวิทยาลัยบูรพาเป็นสถานศึกษาที่เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัมนธรรมที่สำคัญในภาคตะวันออกที่บริการชุมชนสังคมทั้งภายในและภายนอกได้มาเรียนรู้ได้อย่างหลาก ได้แก่ ชมรมดนตรีไทย คณะดนตรีและการแสดง คณะศึกษาศาสตร์ และสถาบันวิจัยและศิลปะ เป็นหน่วยงานหลักที่ช่วยสืบสานและส่งเสริมงานดนตรีไทยในการจัดประกวดดนตรีไทยจนมีความแข็งแกร่งทางวัฒนธรรมอันเป็นแบบอย่างที่น่ายกย่องและเชิดชูเกียรติแก่มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ดนตรีไทย | th_TH |
dc.subject | วัฒนธรรมไทย | th_TH |
dc.subject | สาขาปรัชญา | th_TH |
dc.title | การสืบทอดวัฒนธรรมดนตรีไทย มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.title.alternative | Conservation of Traditional Thai Music and culture | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | udomsri@go.buu.ac.th | |
dc.year | 2549 | |
dc.description.abstractalternative | Conservation of traditional Thai music and Culture is the basis behind the research study “Way of life, Culture, and Intellect in Chonburi.” The study of traditional Thai music at Burapha University has existed since the university was named Bangsan Education college. A basic requirement of the curriculum since then has been Music Applications, which was designed to create a sense of impression for the students in aesthetics of art and the melodious sound of music. Thais subject is the starting point and core of traditional Thai music studies at Burapha University, which has been instrumental in conserving culture and tradition over the last 59 years (1955-2014). It has contributed to the expansion of Traditional Thai Music and its inclusion as a specific subject in other faculties. During M.L. Boonluer Theppayasuwan’s period, several import teachers of stringed instruments in Traditional Thai Music from the Department of Emtertainment were invited to assist in the conservation effort: Khun Sanitbunlengkarn (Jong Jittasewee), a master of traditional stringed instrument, and Kru Chatill, a musician, who was a pupil of Kru Luang Pradit-Phairaor (Sorn Sinlapabunjong). They took care of and managed the traditional stringed instruments, and Kru Chatill, a musician, who was a pupi of Kru Luang Pradit-Phairaor (Sorn Sinlapabunjong). They took care of and managed the Traditional Thai Music studies and the Thai Music Club at Burapha University. Dr. Chuchart Phinpart, Ajarn Suchart Srisophaporn, Assistant Professor Dr. Nayos Krukitkosol and Ajarn Niphon Klamlomjit followed in their footsteps, respectively. Burapha University is an education institution that focusses on important aspects of Eastern culture. It provides many social elements to the local and external communities such as the Traditional Thai Music Club. Faculty of Education and the Culture and Art Research Institutin, and has contributed to the conservation and promotion of Traditional Thai Music. Burapha University has thus become a model of Thai culture studies, earning much deserved praise. | en |
Files | Size | Format | View |
---|---|---|---|
There are no files associated with this item. |