DSpace Repository

การศึกษาศักยภาพด้านการเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมของชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์
dc.date.accessioned 2024-11-28T09:03:06Z
dc.date.available 2024-11-28T09:03:06Z
dc.date.issued 2566
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17365
dc.description.abstract การศึกษาศักยภาพต้านการเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมของชุมซนประมงพื้นบ้าน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการ รทางประวัติศาสตร์ของชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดซลบุรี 2) เพื่อสำรวจและรวบรวมทุนวัฒนธรรมของชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดชลบุรี 3) เพื่อประเมินศักยภาพชุมชนและการประเมินทุนว้ฒนธรรมของชุมชนประมงพื้นบ้าน ในการจะพัฒนาไปสู่การเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม การตำเนินการวิจัยใช้แนวคิตการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้และทุนวัฒนธรรมเปืนแนวทางในการดำเนินการ โตยช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโตยใช้ กระบวนการวิจัยทางประวัติศาสตร์ (Histarical approach) ในการดำเนินการในการศึกษาพัฒนาการของทุนวัฒนธรรมที่มีรากมาจากอตีต เพราะข้อมูลทางประวัติศาสตร์คือทุนวัฒนธรรมที่สำคัญในการที่จะขับเคลื่อนเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ เป็นการแปลงทุนวัฒนธรรมให้เป็นทุนเศรษฐกิจ โดยใช้การวิจัยแนวณ์และการจัตสนทนากสุ่ม "ประวัติศาสตร์ทั้งหมด" (Tatal history) ร่วมกับการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์กับผู้เชี่ยวขาญและผู้มีส่วนได้เสียในการพัฒนาทุนวัฒนธรรมปร้ะมงพื้นบ้านเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงการสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อมาจัตทำแผนที่วัฒนธรรมที่เชื่อมโยงชุมซนประมงพื้นบ้านทั้ง 9 ชุมซน โครงการวิจัยนี้มีความสัมพันธ์กับโครงการอื่น ๆ ภายใต้แผนงาน คือภายหลังจากการสำรวจและประเมินศักยภาพจะนำไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม การพัฒนานวัตกรรมการสื่อสาร และมีการประเมินประสิทธิผลของการจัตการเพื่อพัฒนาเป็นต้นแบบแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวระตับสากล ผลจากริจัยครั้งนี้คาตว่าจะก่อให้เกิตผลกระทบต่อชุมซนท้องถิ่นอย่างน้อย 3 ประการ คือ 1) การ เพิ่มขึ้นของอัตราการเดิบโตของมูลค่าเศรษฐกิจฐานรากและมูลค่สินศัาผลิตภัณฑ์ซุมชน 2) การเสริมพลังในการพัฒนาชุมชนโดยสามารถสร้างนวัตกรรมชุมชนที่มีทักษะในการแก้ปัญหาตัวยตนเอง 3) การตระหนักถึงการใช้ทุนทางวัฒนธรรมในการพัฒาไปสู่การท่องเที่ยวเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่ให้กับทุนวัฒนธรรมของชุมชน th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจัย จากมหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านกองทุนส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ประมงพื้นบ้าน th_TH
dc.subject แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม th_TH
dc.title การศึกษาศักยภาพด้านการเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมของชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative A study of the potential of Fisheries Cultural Learning Resources in Chonburi Province th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2566 th_TH
dc.description.abstractalternative The objectives of a study of the potential as a cultural learning center of local fishing communities are: 1) To study the history of local fishing communities in Chonburi Province 2) to explore and collect the cultural capital of local fishing communities in Chonburi Province 3) To assess the community potential and to assess the cultural capital of local fishing communities in order to develop into a learning center that promotes cultural tourism The research is based on the concept of sustainable tourism development, cultural tourism learning resources and cultural capital. A qualitative research method using a historical approach by using research “Total history” because historical data is an important cultural capital in order to drive economic value. It transforms cultural capital into economic capital. Data collection by interviews and focus group discussions with experts and stakeholders in the development of local fishery cultural capital as a learning center to promote tourism. Including the synthesis of data to create a cultural map that connects all 9 local fishing communities. This research project is related to other projects. After the survey and assessment of the potential, it will lead to development as a cultural learning center, development of communication innovation and assessing the effectiveness of management to develop a model cultural learning center that promotes international tourism. The results of this research are expected to have at least 3 impacts on local communities: 1) an increase in the growth rate of the grassroots economy; and the value of community products; 2) empowering community development by creating community innovators with self-solving skills; 3) realizing the use of cultural capital to develop tourism for It adds value to the cultural capital of the community. th_TH
dc.keyword แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account