dc.contributor.author |
บุญเดิม พันรอบ |
|
dc.date.accessioned |
2024-10-17T04:36:39Z |
|
dc.date.available |
2024-10-17T04:36:39Z |
|
dc.date.issued |
2537 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17346 |
|
dc.description.abstract |
จุดมุ่งหมายการศึกษาวิจัยอุตสาหกรรมการต่อเรือประมงภาคตะวันออก ก็เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและอุตสาหกรรมการต่อเรือประมง ศึกษาอุตสาหกรรมในครัวเรือนเกี่ยวกับการต่อเรือประมง รูปแบบ กระบวนการและเทคโนโลยีการต่อเรือ แนวโน้มความเชื่อมโยงของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและอุตสาหกรรมสมัยใหม่และอุตสาหกรรมการต่อเรือประมงเชิงธุรกิจ
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประกอบการอุตสาหกรรม 228 คน เป็นชาย 212 คน หญิง 16 คน จากระยอง จันทบุรี ตราด และชลบุรี เป็นเจ้าของกิจการ 20 คน อีก 208 คน เป็นคนงาน ผู้วิจัยใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลเป็นการสัมภาษณ์อย่างมีระบบ เสนอข้อมูลเชิงพรรณาอธิบาย และใช้สถิติร้อยละ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ชายมีแนวโน้มจะประกอบอาชีพอุตสาหกรรมการต่อเรือประมงมากกว่าผู้หญิง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในอายุระหว่าง 21-40 ปี มีระดับการศึกษาประถมศึกษามากที่สุด โครงสร้างแรงงานในอุตสาหกรรมประกอบด้วย เจ้าของกิจการ หัวหน้าคนงาน คนงานฝีมือ และคนงานไร้ฝีมือ กระบวนการอุตสาหกรรมประกอบด้วย 18 กระบวนการ ต่อเรือขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ทุนที่ใช่ในอุตสาหกรรมประกอบด้วย เงินทุน ที่ดิน โรงเรือน และเครื่องมือ วัตถุดิบที่ใช้ประกอบด้วย วัภุดิบหลักและวัตถุดิบสิ้นเปลือง |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลุัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คระมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
เรือประมง -- ไทย (ภาคตะวันออก). |
th_TH |
dc.subject |
การต่อเรือ |
th_TH |
dc.subject |
อุตสาหกรรมการต่อเรือ |
th_TH |
dc.title |
อุตสาหกรรมการต่อเรือประมงภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
The trawler industry in eastern area |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2537 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The aims of the research were to study the trawler industry in eastern area, to study the local history about trawler industry, to study the manufacture, the process and technology, to compare the role of local history and the commercial in trawler industry.
The samples were 228 males and 16 females from Chonburi, Rayong. Chandaburi and Trat Province. The results were ;
1. The trawler industry was the tradition in eastern area such as the tradition about worship in goddess.
2. The structure of labor in trawler industry composed of entrepreneur foreman skilled, labor, semiskilled labor, and unskilled labor.
3. There were 18 processes in manufacture to construct 3 types of trawler; the large. the middle and the small.
4. The costs were money, the building, and the instruments. The inputs were the main inputs and non-permanent inputs. |
th_TH |