DSpace Repository

ผลของความเค็มและการเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อการเพิ่มจำนวนและองค์ประกอบของโคพีพอดธรรมชาติที่เลี้ยงด้วยรำหมัก

Show simple item record

dc.contributor.author ดวงทิพย์ อู่เงิน
dc.contributor.author วรเทพ มุธุวรรณ
dc.contributor.author ศิรประภา ฟ้ากระจ่าง
dc.contributor.author ชลธิชา สุขประเสริฐ
dc.date.accessioned 2024-02-28T08:24:51Z
dc.date.available 2024-02-28T08:24:51Z
dc.date.issued 2566
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17223
dc.description.abstract การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการทดสอบผลของความเค็มที่ต่างกัน 3 ระดับ (28, 30, 32 ppt) และการเก็บเกี่ยวผลผลิตระหว่างการเก็บเกี่ยวผลผลิตหนึ่งครั้ง (วันที่ 30 สิ้นสุดการทดลอง) และสองครั้ง (ครึ่งหนึ่งวันที่ 12 และ วันที่ 30 สิ้นสุดการทดลอง) ต่อการเพิ่มจจำนวน และองค์ประกอบของโคพีพอดในธรรมชาติ โดยการให้อาหาร (รำหมัก) เป็นอาหารครั้งเดียวเมื่อเริ่มทดลองที่ความเข้มข้น 150 ppm วางแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล (Factorial design) ที่ความจุน้ำ 10 ลิตร ทั้งหมด 18 ใบ เป็นเวลา 30 วัน ผลการทดลองพบว่าโคพีพอดมีการตอบสนองโดยการเพิ่มจำนวนโคพีพอดในช่วงแรกก่อนลดจำนวนลงในแนวทางเดียวกัน ที่ความเค็ม 28 ppt ทั้งชุดการทดลองที่เก็บเกี่ยวผลผลิต 1 ครั้งและ 2 ครั้ง ในวันที่ 2 พบความหนาแน่นของโคพีพอดมีค่าสูงสุด (ค่าเฉลี่ย±SE) 3.1±0.3 ตัว/ มล. และ 2.8 ±0.3 ตัว/ มล. ก่อนความหนาแน่นกลับเพิ่ม สูงขึ้น ในวันที่ 10 มีค่าเฉลี่ย (±SE) 2.8±0.4 ตัว/ มล. และ 1.0 ±0.2 ตัว/ มล. ตามลำดับ แตกต่าง (p<0.01) จากโคพีพอดที่เลี้ยงด้วยความเค็ม 30 ppt และ 32 ppt พบว่าความหนาแน่นของโคพีพอดเพิ่มขึ้น (ค่าเฉลี่ย±SE) 1.3±0.1 ตัว/ มล. และ 0.9-0.1 ตัว/ มล. ในช่วงวันที่ 12-14 ก่อนมีการลดลงในแนวทางเดียวกัน สำหรับการเก็บเกี่ยวผลผลิตพบว่าการเก็บเกี่ยวผลผลิตครึ่งหนึ่ง ในวันที่ 12 ไม่ทำให้ความหนาแน่นของโคพีพอดลดลงเมื่อสิ้นสุดการทดลอง โดยกลุ่มชนิดของโคพีพอดที่พบมากที่สุดคือ คาลานอยล์ ไซโคลพอยด์ ฮาร์แพคทิคอยด์ (ร้ อยละ 59.1±0.1, 27.9, 12.5) และสัดส่วนร้อยละของระยะการเติบโตของโคพีพอดที่พบมากที่สุดคือ นอเพลียส ตัวเต็มวัย โคพีโพดิด และตัวเต็มวัยที่มีไข่ (ร้อยละ 55.8±4.8, 24.5±3.4, 19.2±2.1, 0.5±0.2) ตามลำดับ ผลการทดลองสรุปได้ว่าโคพีพอดเจริญเติบโตได้ดีในน้ำที่ความเค็มต่ำ (28 ppt) และการเก็บเกี่ยวผลผลิต 2 ครั้ง ทำให้ผลผลิตของโคพีพอดมากขึ้น th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.subject ความเค็ม th_TH
dc.subject โคพีพอด th_TH
dc.subject โคพีพอด -- การเพาะเลี้ยง th_TH
dc.title ผลของความเค็มและการเก็บเกี่ยวผลผลิตต่อการเพิ่มจำนวนและองค์ประกอบของโคพีพอดธรรมชาติที่เลี้ยงด้วยรำหมัก th_TH
dc.title.alternative Effect of salinity and harvesting on population dynamics and composition of natural Copepods fed with fermented bran th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 8 th_TH
dc.volume 2 th_TH
dc.year 2566 th_TH
dc.description.abstractalternative An experiment was conducted to study the effect of 3 different salinity levels (28, 30, 32 ppt) and frequency of harvesting at the end (30 days.) and double harvesting on days 12 and 30 (the end) fed with fermented bran as concentration 150 ppm first feeding only. Factorial design in eighteen of 10-liter plastic tanks for 30 days. The results showed that responded copepods by increasing the maximum copepod density was (mean±SE) 3.1±0.3 and 2.8±0.3 ind./mL on day 2 before the reversal at high density (Mean±SE) 2.8±0.4 and 1.0±0.2 ind./ mL in day 10 at salinity 28 ppt in both 2 harvests, respectively. Different (p<0.01) at high salinity 30 and 32 ppt to copepod density was (mean±SE) 1.3±0.1 and 0.9-0.1 ind./mL at 12-14 days before increasing at the same approach. Half-harvested copepods at 12 days did not affect of density copepods in the end. Most types of copepod were order calanoid, cyclopoid and harpacticoid copepod (Percent 59.1±0.1, 27.9, 12.5) and the stage were nauplii, adult, copepodite and adult with eggs (Percent 55.8±4.8, 24.5±3.4, 19.2±2.1,0.5±0.2), respectively. Concluded there were copepods prefer salinity of 28 ppt and double harvesting increased the production of copepods. th_TH
dc.journal วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. th_TH
dc.page 697-710 th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account