DSpace Repository

โครงการสรา้งเครื่องปฏิกรณ์ชีวภาพแบบใช้แสงที่เหมาะสมต่อการผลิตไฮโดรเจนของจุลสาหร่าย

Show simple item record

dc.contributor.author วิทวัส แจ้งเอี่ยม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:12Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:12Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1564
dc.description.abstract การสร้างเครื่องปฏิกรณ์ชีวภาพแบบใช้แสงที่เหมาะสมต่อการผลิตไฮโดรเจนของจุลสาหร่าย โดยมีรูปแบบลักษณะเป็นแบบ Tubular photobioreactor ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบเกลียวดีเอ็นเอเพื่อให้จุลสาหร่ายได้รับแสงได้อย่างทั่วถึง โดยในขั้นแรกของการทดลองได้ทำการหาสายพันธ์ของจุลสาหร่ายที่ค่าความเป้นกรด-ด่าง ต่าง ๆ ที่สามารถผลิตมวลชีวภาพได้สุงสุดและสามารถผลิตแก๊สได้สุงสุด โดยพบว่าจุลสาหร่ายสายพันธุ์สไปรูลิน่า (spirulina sp.) สามารถผลิตมวลชีวภาพได้สูงสุด ที่ค่าความเป็นกรด-ด่าง 10-11 และผลิตแก๊สไฮโดรเจนได้สุงสุด 0.9 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง เมื่อได้จุลสาหร่ายสายพันธุ์สไปรุลิน่า ทำการเลี้ยงจุลสาหร่ายด้วยเครื่อง Tubular photobioreactor ขนาด 50 ลิตร เพื่อเปรียบเทียบอัตราการเพิ่มมวลชีวภาพกับการเลี้ยงจุลสาหร่ายด้วยขนาด 350 มิลลิลิตร พบว่าอัตราการเพิ่มมวลชีวภาพของจุลสาหร่ายที่เลี้ยงด้วยเครื่อง Tubular photobioreactor 50 ลิตรและขวดขนาด 350 มิลลิลิตร ในวันที่ 3 มีปริมาณใกล้เคียงกันคือ 0.1887 และ 0.1919 กรัมต่อลิตร ดังนั้นถือได้ว่าเครื่อง Tubular photobioreactor 50 มีประสิทธิภาพดี ในการผลิตชีวมวลเมื่อเทียบกับขวดขนาด 350 มิลลิลิตร แต่หลังจากวันที่ 3 อัตราการเพิ่มมวลชีวภาพของจุลสาหร่ายที่เลี้ยงด้วยเครื่อง Tubular photobioreactor มีอัตราการเพิ่มมวลชีวภาพน้อยลง ทั้งนี้เป็นผลเนื่องมาจากอุณหภูมิที่สูงเกินไป เพราะเครื่อง Tubular photobioreactor ได้รับแสงอาทิตย์โดยตรงและทำให้เกิดการสะสมความร้อนภายในกล่องดำ ด้วยอุณหภูมืที่แตกต่างกันมากเกินไปของช่วงเวลากลางวันและกลางคืนคือ อุณหภูมิสูงในเวลากลางวันและอุณหภูมิที่เย็นในตอนกลางคืน ทำให้จุลสาหร่ายเกิดการปรับตัวได้ไม่ดี ดังนั้นอาจต้องทำการระบายอากาศในกล่องดำให้ดีกว่านี้ th_TH
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject จุลสาหร่าย th_TH
dc.subject เครื่องปฏิกรณ์ชีวภาพ th_TH
dc.subject สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย th_TH
dc.title โครงการสรา้งเครื่องปฏิกรณ์ชีวภาพแบบใช้แสงที่เหมาะสมต่อการผลิตไฮโดรเจนของจุลสาหร่าย th_TH
dc.title.alternative Photobioreactor construction and cultivation of microalgae for biological hydrogen production en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative Photobiological production of biohydrogen by microorganusms is of great interest since it promises a renewable energy carrer from nature's nost plentiful resources, solar energy and water, Cyanobacteria and green algae are the only organisms currently know to be capable of producing hydrogen by photosynthesis and also consume carbon dioxide for the growth. The research team is going to design and construct a micro algae growing system which is called the helical tubular photobioreactor (DNA Spiral Shape). It has advantages over another system due to increasing the growth rate. good mixing and oxygen removal, easily to control the temperature and flow system. The microalgae named "Spirulina" is used in this research. This research has two main purposes, the first, investigate the suitable conditions of maximum biomass production by spirulina, the second, construction the 50 liter bioreactor and evaluate the performance. The result showed that Spirulina at pH 10-11 can produce maximum biomass and the hydrogen production up to 0.9 ml/hour. Then 50 liters tubular photobioreator compared with mocro algae in 350 ml (in bottle), the biomass of the both bioreactors were nearly the same at the first stage (day 1 to 3) which 350 ml was 0.1887 grams per liter and 50 liters was 0.1919 grams per liter. After the third day, the production rate of 50 liters bioreactor was decrease because of the high temperature and the temperature and the temperature varied too much during the day and night. We suggested that the ventilation of the 50 liters bioreactor should be the important thing to improve the next generation of bioreactor en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account