dc.contributor.author |
เอกรัตน์ วงษ์แก้ว |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:07:11Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:07:11Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1546 |
|
dc.description.abstract |
ปัญหาความเป็นพิษของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ต่อประสิทธิภาพการทางานของเซลเชื้อเพลิงแบบเยื่อเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจมาก วิธีการแก้ไขปัญหาสามารถทาได้ด้วยการกาจัดก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่ปะปนมากกับรีฟอร์มก๊าซ วิธีการที่ได้รับความนิยมคือการเติมก๊าซออกซิเจนเพื่อให้เกิดการเผาไหม้กับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ โดยต้องมีการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม ในงานวิจัยนี้ศึกษาตัวเร่งปฏิกิริยากลุ่มโลหะออกไซด์ผสมคอปเปอร์ และ เฟอริก ตัวแปรศึกษาคือปริมาณคอปเปอร์ในตัวเร่งปฏิกิริยา และใช้วิธีตกตะกอนร่วมในการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมจะถูกวิเคราะห์คุณสมบัติเฉพาะได้แก่ พื้นที่ผิวจาเพาะ ขนาดรูพรุนเฉลี่ย โครงสร้าง และขนาดผลึกเฉลี่ย ด้วยวิธีการดูดซับเชิงกายภาพและใช้สมการ BET ในการคานวณค่า และเครื่องเอ็กซ์เรย์ดิฟแฟรคชัน ในการวิเคราะห์พบว่ารูปแบบไอโซเทอร์มของตัวเร่งปฏิกิริยาทุกตัวอยู่ในรูปแบบที่สี่ แสดงถึงรูพรุนขนาดเมโซพอร์ นอกจากนั้นพบว่าที่ปริมาณคอปเปอร์ออกไซด์น้อยกว่าร้อยละ 10 จะไม่พบพีคของคอปเปอร์ออกไซด์ แสดงให้เห็นว่าขนาดผลึกของคอปเปอร์ออกไซด์เล็กมาก หรือคอปเปอร์ออกไซด์มีการกระจายตัวอย่างดีในตัวเร่งปฏิกิริยา ในการเร่งปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซด์ออกซิเดชันพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีคอปเปอร์ออกไซด์ร้อยละ 10 แสดงการเร่งปฏิกิริยาได้ดีที่สุดคือค่าคาร์บอนมอนอกไซด์คอนเวอร์ชันที่ร้อยละ 90 เกิดที่อุณหภูมิต่าที่สุด เมื่อในสายป้อนมีก๊าซไฮโดรเจนผสมในปริมาณมาก พบว่าการเร่งปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซด์ออกซิเดชันเกิดได้แย่ลง โดยที่อุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่า 170 องศาเซลเซียส ตัวเร่งปฏิกิริยาเร่งปฏิกิริยาไฮโดรเจนออกซิเดชันได้ดี ดังนั้นค่าคาร์บอนมอนอกไซด์คอนเวอร์ชันมีค่าต่ำกว่าร้อยละ 100 |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
คอปเปอร์ออกไซด์ |
th_TH |
dc.subject |
คาร์บอนมอนอกไซด์ |
th_TH |
dc.subject |
ปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซด์ออกซิเดชัน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.subject |
เฟอริกออกไซด์ |
th_TH |
dc.subject |
โลหะออกไซด์ |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาสภาวะในการเตรียมโลหะออกไซด์ผสมทองแดงและเหล็กต่อคุณสมบัติเฉพาะและการเร่งปฏิกิริยากำจัดก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (ปีที่ 1) |
th_TH |
dc.title.alternative |
A study of preparation conditions of bimetallic oxides (Copper and Ferric) affecting to their physical properties and catalytic activity to CO oxidation reaction |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2558 |
|
dc.description.abstractalternative |
The poisoning of CO contaminating in hydrogen is a major problem affecting the performance of PEM fuel cell. Removal of trace amount of CO can be achieved by selective CO oxidation reaction or preferential CO oxidation reactions. This process requires catalysts selectively active to CO oxidation. In this work, CuO supported over Fe2O3 was investigated the catalytic activities to CO oxidation. The parameter studied was the amount of CuO in the catalysts. The catalysts were prepared by co-precipitation method. All catalysts were characterized for their specific surface area, average pore diameter, crystalline structure and average crystallite sizes by BET and XRD techniques. Adsorption isotherms indicated that all catalysts have mesoporous structure (Isotherm type IV). With low loading of CuO (<20%), there was no CuO peak observed from XRD patterns. It implied that CuO was well dispersed on the support. From T90 (Defined as the temperature that 90% of CO in the gas stream converted to CO2), the optimal content of CuO in the catalysts would be 10%CuO/Fe2O3 which showed the best catalytic activity to CO oxidation reaction. In the presence of excess H2 in the gas feed, the catalyst was preferably active to H2 oxidation reaction at reaction temperature above 170C. |
en |