DSpace Repository

ประสิทธิภาพในการประเมินภาวะไส้ติ่งอักเสบด้วยอัลตร้าซาวด์ในกลุ่มผู้ป่วยเด็ก

Show simple item record

dc.contributor.author ศรสุภา ลิ้มเจริญ th
dc.contributor.author อดิสรณ์ บุญญฤทธิ์ th
dc.contributor.author อลิสรา วงศ์สุทธิเลิศ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:04Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:04Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1444
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบย้อนหลัง( Retrospective analytic cross sectional study) โดยศึกษาจากเอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยเด็กอายุ 1-16 ปีที่ได้รับการทำอัตร้าซาวด์เนื่องจากสงสัยเป็นไส้ติ่งอักเสบ ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2552 ถึง เดือน ธันวาคม พ.ศ.2555 การใหการวินิฉัยไส้ติ่งอักเสบ โดยอัลตร้าซาวด์เมื่อเส้นผ่าศูนย์กลางของไส้ติ่งมากกว่า 6 มิลลิเมตร ถ้าอัลตร้าซาวด์ไม่พบไส้ติ่งจะพิจารณาแยกออกเป็นอีกกลุ่ม นำผลอัลตร้าซาวด์มาเปรียบเทียบกับผลการผ่าตัด และชิ้นเนื้อ สำหรับผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการผ่าตัดถือเอาการวินิจฉัยของแพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยก่อนอนุญาตให้ออกจากโรงพยาบาลเป็นเกณฑ์ และวิเคราะห์แยกกลุ่มย่อยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ได้รับการผ่าตัด รวมถึงเด็กเล็ก (อายุ 1-10 ปี) กับเด็กโต (อายุ 11-16 ปี) กับระหว่างเพศ ผลการวิจัย อัลตร้าซาวด์พลไส้ติ่งใน 270/428 ราย (63.1 %) อัลตร้าซาวด์มีความไวในการวินิจฉัยไส้ติ่งอักเสบในกลุ่มเด็กโดยรวม 71.2% ( 95%CI:56.9%-82.9%) ความจำเพาะ 97.7% (95%CI:94.7%-99.3% ) ค่าพยากรณ์ผลบวก 88.1% (95%CI:74.4%-96.0%) ค่าพยากรณ์ผลลบ 93.4% ( 95%CI:89.4%-96.3%) ค่าความแม่นยำ 92.6% โดยมีค่า ROC เท่ากับ 0.84 ค่าความจำเพาะ ( 47.1% ) ค่าพยากรณ์ผลลบ ( 61.5% ) และความแม่นยำ ( ( 76.3% ) มีค่าน้อยลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกลุ่มที่ได้รับการผ่าตัด ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติภาพของอัลตร้าซาวด์ระหว่างเพศ หรือระหว่างกลุ่มเด็กเล็กกับเด็กโต ยกเว้นในกลุ่มเด็กเล็กจะมีค่าพยากรณ์ผลบวกต่ำกว่าเด็กโต สรุปผลการวิจัย อัลตร้าซาวด์มีประสิทธิภาพมากพอในการวินิจฉัยไส้ติ่งอักเสบ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาในการวินิจฉัยจากประวัติและการตรวจร่างกาย ควรนำมาใช้เป็นอันดับแรกในการส่งตรวจทางรังสีวิทยา เพื่อช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากการวินิจฉัยล่าช้า ลดระยะการพักฟื้นในโรงพยาบาล และลดอัราการผ่าตัดที่ไม่จำเป็น th_TH
dc.description.sponsorship รายงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.subject อัลตร้าซาวด์ th_TH
dc.subject ไส้ติ่งอักเสบ th_TH
dc.title ประสิทธิภาพในการประเมินภาวะไส้ติ่งอักเสบด้วยอัลตร้าซาวด์ในกลุ่มผู้ป่วยเด็ก th_TH
dc.title.alternative Efficacy of ultrasonography in evaluation of suspected appendicities in pediatric population th_TH
dc.type Research th_TH
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to evaluate the efficacy of ultrasound(US)for the diagnosis of acute appendicitis in children. Materials and methods We reviewed all sonograms for acute appendicitis in children from January 2009 to December 2012. Sonographic findings were positive when the largest axial diameters were more than 6 mm. The sonograms that were unable to find the appendix were classified into the other group and were considered separately. Sonographic findings were compared with surgical pathologic findings or discharge diagnoses in cases of no surgery. Subgroup analysis in the surgical group, including patient age ( < 11 years or 11-16 years) and sex were also perfomed. Results The appendix was identified in 270/428 cases ( 63.1%). The sensitivity was 71.2%(95%CI:56.9%-82.9%), specificity 97.7%( 95%CI:94.7%-99.3%), positive predictive value 88.1%(95% CI:74.4%-96.0%), negative predictive value 93.4%(95% CI:89.4%-96.3%), accuracy 92.6%, and ROC = 0.84. The specificity ( 47.1%), negative predictive value (61.5%), and accuracy (76.3%) were significant lower in the surgical group. The efficacy of US between the sexes and age groups showed no significant difference, except the lower positive predictive values in the younger age group. Conclusion US efficacy for the diagnosis of appendicitis in children is high enough to use as an imaging of first choice to reduce complications, hospital stay, and negative appendectomy rate. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account