dc.contributor.author |
ฉลวย มุสิกะ |
th |
dc.contributor.author |
แววตา ทองระอา |
th |
dc.contributor.author |
วันชัย วงสุดาวรรณ |
th |
dc.contributor.author |
อาวุธ หมั่นหาผล |
th |
dc.contributor.author |
อภิวิชญ์ นวลแก้ว |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:07:03Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:07:03Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1429 |
|
dc.description.abstract |
ป่าชายเลนชุมชนบ้านแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ถูกล้อมรอบด้วยชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่อยู่ภายในบริเวณนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง ประกอบกับยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับโลหะหนักในป่าชายเลนบริเวณนี้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสะสมและการแพร่กระจายโลหะหนัก ชนิด 7 คือ ปรอท ตะกั่ว แคดเมียม สังกะสี ทองแดง เหล็ก และ นิเกิล ในน้ำ ดินตะกอน และป่าชายเลนชนิดเด่น 4 ชนิดคือ โกงกางใบเล็ก, Rhizophora apiculate โกงกางใบใหญ่, Rhizophora mucronata แสม, Avicennia spp. ตะบูนขาว, Xylocarpus granatum รวมทั้งศึกษาศักยภาพของพืชป่าชายเลนในการเป็นดัชนีวัดทางชีวภาพตรวจวัดมลพิษจากโลหะหนัก โดยเก็บตัวอย่าง 2 ครั้งในฤดูฝน (ตุลาคม 2555) และฤดูแล้ง (กุมภาพันธ์ 2557) ผลการศึกษา พบว่า โลหะหนักส่วนใหญ่ในน้ำและดินตะกอนมีค่าสูงในสถานีก่อนเข้าสู่ป่าชายเลน และมีปริมาณลดลงเมื่อออกจากป่าชายเลนไปสู่ทะเล โลหะหนักในน้ำมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ส่วนโลหะหนักในดินตะกอนส่วนใหญ่มีค่าสูงเกินมาตรฐานคุณภาพตะกอนในดินแหล่งน้ำผิวดินในบางสถานีและบางฤดูกาล การศึกษาโลหะหนักในรากและใบของพืชป่าชายเลน พบว่าโลหะหนักส่วนใหญ่เข้าไปสะสมอยู่ที่รากมากกว่าที่ใบทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง ทั้งนี้ราของพืชป่าชายเลนมีความสามารถสะสมโลหะหนักได้น้อยกว่าปริมาณที่มีอยู่ในดินตะกอน แต่ปริมาณโลหะในรากเป็นโลหะหนักที่เข้าสู่สิ่งมีชีวิตได้และใช้บ่งบอกถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในขณะที่โลหะหนักในดินตะกอนเป็นปริมาณโลหะหนักรวม พบว่า รากของต้นตะบูนขาว And Xylocarpus granatum มีประสิทธิภาพในการดูดซึมและนำโลหะหนักเกือบทุกชนิดเข้าสู่เนื้อเยื่อได้ดี โดยเฉพาะสามารถสะสมแคดเมียมได้ในปริมาณที่สูงกว่าในดินตะกอน จึงจัดว่ารากของต้นตะบูนขาว เป็น Cd hyperaccumulator และในส่วนของใบ พบว่า ใบของต้นแสม มีอัตรานำเข้าโลหะหนักทุกชนิดได้สูงที่สุด ด้วยเหตุนี้รากของพืชป่าชายเลนจึงมีศักยภาพ ในการเป็นดัชนีชีวัดทางชีวภาพในการตรวจสอบวัดมลพิษจาก โลหะหนักได้ดีกว่าใบ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ 2556 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ดินตะกอน |
th_TH |
dc.subject |
ป่าชายเลน |
th_TH |
dc.subject |
โลหะหนัก |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การสะสมและการแพร่กระจายของโลหะหนักบางชนิดในน้ำ ดินตะกอน และพืชป่าชายเลนในชุมชนบ้านแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี และศักยภาพของพืชป่าชายเลนในการเป็นดัชนีชี้วัดทางชีวภาพตรวจวัดมลพิษจากโลหะหนัก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Accuumalation and distribution of some heavy metals in water, sediment and mangrove plants in Ban Laem Chabang community, Chon Buri province and potential of mangrove plants as bioindicator to monitor heavy metal pollution |
en |
dc.type |
Research |
|
dc.year |
2557 |
|
dc.description.abstractalternative |
Lem Chabang mangrove, Chon Buri Province is surrounded by the communities and industries that are located within the are of Laemchabang Industrial Estate. Scientific data on heavy metals found
in this mangrove are unavailable. This study aimed to investigate the accumulation and distribution of 7 heavy metals (Hg, Pb, Cd, Zn, Cu, Fe, and Ni) in water, sediment and 4 dominant mangrove plants ( Rhizophora apiculate, Rhizophora mucronata, Avicennia spp. And Xylocarpus granatum) and also to evaluate the potential of mangrove plants as bioindicator to monitor heavy metal pollution. All samples were collected 2 times in the wet (October 2012) and dry (February 2014) seasons. The results found that most heavy metals in water and sediment were higher in station before entering the forest and decreased after passing through the forest towards the sea. Heavy metals in water were still within the surface water quality standard, while most of heavy metal in sediments were higher than draft sediment guideline for surface water sediment in some stations and in some seasons. In all mangrove plants investigated, roots accumulated more heavy metals then leaves both in the dry and wet seasons. Heavy metals were accumulated in roots to concentrations lower than those of adjacent sediments. However, heavy metals in plants are available from that can be used to indicate the impact on the environment, while those in the sediments are total metal (both available and unavailable forms). All mangrove plants studied, roots of Xylocarpus granatum and leaves of Avicennia spp had the most efficiency in uptake all metals into their tissue, especially roots of Xylocarpus granatum can be classified as Cd hyperaccumulator. Consequently, the use of mangrove root has more potential as an environmental bioindicator than leaf |
en |